ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารภูมิต้านทาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Bill-RUANG (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7:
[[โครงสร้างโมเลกุล]]ของแอนติบอดีอยู่ในรูปตัววาย (Y shape) ประกอบด้วยสาย[[พอลีเพปไทด์]] 4 เส้น คือ เส้นหนัก (heavy chain) เหมือนกัน 2 เส้น และเส้นเบา (light chain) เหมือนกัน 2 เส้น โดยเปรียบเทียบจากขนาด[[น้ำหนักโมเลกุล]]
 
บริเวณปลายทั้งสองของตัว Y (ปลาย N-terminal) จะเป็นตำแหน่งที่ใช้จับกับแอนติเจน เรียกว่า antigen binding site ลำดับกรดอะมิโนของบริเวณนี้จึงมีความหลากหลายสูง โดยจะแตกต่างกันไปตามความจำเพาะต่อแอนติเจนแต่ละชนิด ทำให้เรียกบริเวณปลายทั้งสองนี้ว่า'''บริเวณแปรผัน''' (variable region) ถัดลงมาจากบริเวณแปรผันจนถึงโคนของตัว Y (ปลาย C-terminal) นั้นเรียกว่า '''บริเวณคงที่''' (constant region) ซึ่งมีลำดับของกรดอะมิโนค่อนข้างแน่นอน บริเวณนี้จะแสดงลักษณะการทำงานของแอนติบอดี รวมถึงบ่งบอกถึงชนิดของแอนติบอดีว่าเป็นคลาสใด เช่น IgG, IgA และ IgD จะประกอบด้วยสายโปรตีนเส้นหนักที่มี 4 โดเมน ส่วน IgM และ IgE จะประกอบด้วยสายโปรตีนเส้นหนักที่มี 5 โดเมน<ref>สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, พื้นฐานชีววิทยา, 2558</ref>
 
== ดูเพิ่ม ==