ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sanato Sukhuda (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chaiyawats (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
 
{{สั้นมาก}}
'''ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ''' ({{lang-en|international relations}}) หมายถึง การแลกเปลี่ยนและปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐ (รวมทั้งตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ) ทางด้านการเมือง สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและด้านอื่นๆ ส่วนสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Relations) เป็นแขนงวิชาหนึ่งของ[[รัฐศาสตร์]] การศึกษาซึ่งส่งผลถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเริ่มต้นจากการตั้งคำถามว่า เพราะเหตุใดจึงเกิดสงคราม สาเหตุพื้นฐานของสงครามเป็นเรื่องของลัทธิชาตินิยม (nationalism) ร่วมมือหรืออุดมการณ์ทางการเมือง (political ideology) หรือการไม่มีรัฐบาลโลกคอยควบคุมพฤติกรรมของรัฐต่างๆ สงครามเกิดจากความเข้าใจผิด (misperception) หรือธรรมชาติของมนุษย์ที่ก้าวร้าวรุนแรง นอกจากนี้การศึกษาความสัมพันธ์ขัดแย้งระหว่างประเทศยังตั้งคำถามว่ารัฐต่างๆต่าง จะบรรลุเสถียรภาพระหว่างกันได้อย่างไร และเพราะเหตุใดจึงเกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างภูมิภาคต่างๆ ทั่วในโลก
ตั้งแต่ยุคอารยธรรมโบราณ มนุษย์ยังติดต่อสื่อสารและสร้างสายสัมพันธ์สมาคมกับสังคมอื่นๆ เช่นที่ปรากฎในอารยธรรมจีนโบราณ ตามเส้นทางสายไหมหรือเส้นทางแพรไหม (Silk Road) ชาวจีนได้ติดต่อค้าขายกับชาวต่างประเทศ โดยใช้เส้นทางทางบกในการเดินทางผ่านประเทศต่างๆ ไปยังเอเชียกลางจนไปสิ้นสุดที่ยุโรป และความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นมิได้เกิดขึ้นเพียงมิติทางการค้าเพียงเท่านั้น แต่ยังปรากฎในมิติอื่นๆ เช่น การทูต การเมือง สังคม ศาสนา วัฒนธรรม นอกจากนี้ อาเธอร์ เอ. นัสบัม (Arthur A. Nussbaum) และ แฟรงค์ ดับเบิ้ลยู รัสเซล (Frank W. Russell) กล่าวว่า มนุษย์ได้เขียนถึงความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมาเป็นระยะเวลากว่าสี่พันปี (ศิโรตม์ ภาคสุวรรณ, 2542, หน้า 7)
 
ส่วนสาขาวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Relations) เป็นแขนงวิชาหนึ่งของ[[รัฐศาสตร์]] การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเริ่มต้นจากการตั้งคำถามว่า เพราะเหตุใดจึงเกิดสงคราม สาเหตุพื้นฐานของสงครามเป็นเรื่องของลัทธิชาตินิยม (nationalism) หรืออุดมการณ์ทางการเมือง (political ideology) หรือการไม่มีรัฐบาลโลกคอยควบคุมพฤติกรรมของรัฐต่างๆ สงครามเกิดจากความเข้าใจผิด (misperception) หรือธรรมชาติของมนุษย์ที่ก้าวร้าวรุนแรง นอกจากนี้การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศยังตั้งคำถามว่ารัฐต่างๆ จะบรรลุเสถียรภาพระหว่างกันได้อย่างไร และเพราะเหตุใดจึงเกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจและสังคมระหว่างภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก
 
ตัวแสดงหลักในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคือรัฐ เหตุผลสำคัญที่ทำให้รัฐเป็นตัวแสดงหลักคือรัฐดำรงไว้ซึ่งอำนาจอธิปไตยในฐานะอำนาจสูงสุดในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การที่อำนาจอธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดทำให้สภาวะความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมีลักษณะที่เรียกว่า "อนาธิปไตย (anarchy)" ในความหมายที่ว่าไม่มีรัฐบาลโลกในการควบคุมพฤติกรรมของรัฐ ตัวแสดงอื่นๆ ในความสัมพันธ์ระหว่างประเทศได้แก่ องค์การระหว่างประเทศ บรรษัทข้ามชาติ องค์การเพื่อสิ่งแวดล้อม กลุ่มก่อการร้าย เป็นต้น