ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทลาซีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
หลังจากไทลาซีนสูญพันธุ์ มาร์ซูเปียลกินเนื้อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด คือ [[แทสเมเนียนเดวิล]] ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1999 เป็นต้นมา นักวิทยาศาสตร์ได้จัดตั้งโครงการรวบรวมตัวอย่างทางพันธุกรรมจากไทลาซีนที่ถูกสตัฟไว้ทั่วโลก เพื่อหาหนทางที่จะทำ[[การโคลนนิง]]ไทลาซีนให้กลับมามีชีวิตอีกครั้ง <ref name="GU">{{cite news|url=http://www.guardian.co.uk/Archive/Article/0,4273,4424142,00.html|title=Back from the dead|author=Julia Leigh|work = The Guardian|location=London|date=2002-05-30| accessdate = 2006-11-22}}</ref>
 
ในปลายปี ค.ศ. 2016 ได้มีการเผยแพร่ภาพจากกล้องติดตามสัตว์ป่าของคณะนักวิทยาศาสตร์กลุ่มหนึ่ง ที่ทำการติดตั้งไว้ในพุ่มไม้ในเขตป่าของ[[รัฐวิกตอเรีย]] ทางตอนใต้ของออสเตรเลีย ปรากฏเห็นภาพของสัตว์ตัวหนึ่งที่มีรูปร่างเหมือนหมาป่าหรือสุนัข แต่มีส่วนหางแข็งตรงเหมือนลักษณะของไทลาซีน จึงอาจยืนยันได้ว่าไทลาซีนยังมิได้สูญพันธุ์ แต่ก็ยังไม่มีข้อมูลเพิ่มเติมมากกว่านี้<ref>หน้า 7, ''เสือทัสมาเนียยังอยู่หรือสูญพันธุ์กันแน่?''. "โลกโศภิณ". "โลกาภิวัฒน์". '''ไทยรัฐ'''ปีที่ 67 ฉบับที่ 21503: วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 1 ปีวอก</ref> แต่ทว่าก็มีพยานพบเห็นอีกหลายราย แต่ก็ยังไม่สามารถยืนยันได้ว่าคือ ไทลาซีนจริง ๆ ดังนั้นทาง[[มหาวิทยาลัยเจมส์คุก]] จึงได้มีโครงการตามหาการมีอยู่จริงของไทลาซีนขึ้น โดยเริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน ค.ศ. 2017<ref>หน้า 14 ประชาชื่น-วิทยาการ-ไอที, ''เปิดโครงการตามล่า ค้นหา 'แทสมาเนีย ไทเกอร์' ''. '''มติชน'''ปีที่ 40 ฉบับที่ 14269: วันพุธที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2560</ref>
==อ้างอิง==