ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Verboten Zeitung 1933.jpg|thumb|right|250px|ประกาศของตำรวจอันเป็นผลมาจากกฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาคไรชสภา]]
'''คำสั่งประธานาธิบดีไรช์ว่าด้วยการป้องกันประชาชนและรัฐ''' หรือรู้จักกันในชื่อ '''กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค''' ({{lang-de|Reichstagsbrandverordnung}}) เป็นคำสั่งของฝ่ายบริหารที่[[เพาล์ ฟอน ฮินเดนบูร์ก]] ประธานาธิบดีเยอรมนี ออกเพื่อตอบโต้[[เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค]] (ไรชสภา) เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 มีเนื้อหาสาระเป็นการจำกัดสิทธิส่วนบุคคลของพลเมืองเยอรมันอย่างมาก [[พรรคนาซี]]ยืมมือประธานาธิบดีออกคำสั่งดังกล่าวโดยอาศัยเสียงข้างมากในรัฐสภาที่พรรคครองอยู่ เพื่อจับกุมผู้ต่อต้านพรรคและระงับสิ่งตีพิมพ์ที่เห็นว่าเป็นภัยต่อตน นักประวัติศาสตร์มองว่าการออกคำสั่งฉบับนี้เป็นการเตรียมสร้างรัฐเผด็จการของพรรคนาซีในกาลอนาคต
 
== ภูมิหลัง ==
ก่อนเกิดเหตุการณ์เพลิงไหม้รัฐสภาไรชส์ทาคสี่สัปดาห์ไรชสภาสี่สัปดาห์ [[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]]แห่ง[[พรรคนาซี]]ได้รับเลือกให้เป็น[[นายกรัฐมนตรีเยอรมนี]] และได้รับเชิญจากประธานาธิบดีเพาล์ให้เป็นผู้นำคณะรัฐบาลผสมเมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1933 รัฐบาลของฮิตเลอร์ได้สนับสนุนให้ประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กสั่ง[[การยุบสภาผู้แทนราษฎร|ยุบสภาไรชสภา]]ไรชส์ทาค และกำหนดให้มีการเลือกตั้งใหม่ในวันที่ 5 มีนาคม ปีเดียวกันนั้น
 
ต่อมาวันที่ 27 กุมภาพันธ์ หกวันก่อนหน้าการเลือกตั้งเป็นการทั่วไป รัฐสภาไรชส์ทาคได้เกิดเพลิงไหม้โดยไม่ทราบสาเหตุแม้จนบัดนี้ แต่ฮิตเลอร์และพรรคนาซีใช้เป็นเหตุสร้างฐานอำนาจของตนให้มั่นคงยิ่งขึ้น โดยกล่าวหา[[คอมมิวนิสต์|ผู้นิยมคอมมิวนิสต์]]ว่าก่อความไม่สงบจนเป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้รัฐสภา ส่งผลให้พลเมืองเยอรมันหลายล้านคนเกิดความหวาดหวั่นต่อคอมมิสนิสต์ เนื่องจากทางการประกาศว่า