ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินโปเลียนที่ 1"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ใช้ระบบค.ศ.
บรรทัด 4:
|image =Jacques-Louis David - The Emperor Napoleon in His Study at the Tuileries - Google Art Project.jpg
|alt =Full length portrait of Napoleon in his forties, in high-ranking white and dark blue military dress uniform. He stands amid rich 18th-century furniture laden with papers, and gazes at the viewer. His hair is [[Brutus]] style, cropped close but with a short fringe in front, and his right hand is tucked in his waistcoat.
|caption =''จักรพรรดินโปเลียนในห้องพระอักษรที่ตุยเลอรี'' โดย [[ฌัก-หลุยส์ ดาวีด]] .ศ. 23551812
|succession =[[จักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส]]
|reign =18 พฤษภาคม พ.ศ. 23471804 – 11 เมษายน พ.ศ. 23571814
|coronation =2 ธันวาคม พ.ศ. 23471804
|full name =นโปเลียน โบนาปาร์ต
|predecessor =สถาปนาตำแหน่ง <br>ไม่มี {{small|(''[[คณะกงสุลฝรั่งเศส|คณะรัฐบาลกงสุลเอกแห่งสาธารณรัฐ]] (พ.ศ. 2342 - 2347)''}}
|successor =[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]] {{small|''([[การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บง]])''}}
|reign-type1 =[[สมัยร้อยวัน|รัชสมัยอ้างสิทธิ์]]
|reign1 =20 มีนาคม พ.ศ. 2358 – 22 มิถุนายน พ.ศ. 23581815
|predecessor1 =[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]]
|successor1 =[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]]
|succession2 =[[พระมหากษัตริย์อิตาลี|กษัตริย์แห่งอิตาลี]]
|reign2 =17 มีนาคม พ.ศ. 23481805[[11 เมษายน]] [[พ.ศ. 2357]]1814
|coronation2 =26 พฤษภาคม พ.ศ. 23481805
|predecessor2 = [[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิคาร์ลที่ 5]] <br>{{small|''บัลลังก์เว้นว่างตั้งแต่ปี พ.ศ. 21011558''}}
|successor2 =[[สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 แห่งอิตาลี|พระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2]] <br>{{small|''บัลลังก์เว้นว่างจนถึงปี พ.ศ. 23041761''}}
|reg-type2 =[[อุปราช]]
|regent2 = [[เออแฌน เดอ โบอาร์แน]]
|succession3 =[[รายพระนามพระมหากษัตริย์เยอรมนี|ผู้อารักขา]][[สมาพันธรัฐแห่งแม่น้ำไรน์]]
|reign3 =6 สิงหาคม พ.ศ. 23491806 – 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 23561813
|predecessor3 =[[จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ฟรันซ์ที่ 2 แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]
|successor3 =[[จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|ฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย]]
บรรทัด 33:
|father =[[การโล โบนาปาร์ต]]
|mother =[[เลติเซีย ราโมลิโน]]
|birth_date = 15 สิงหาคม .ศ. 23121769
|birth_place = [[คอร์ซิกา]] [[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส]]
|death_date = 5 พฤษภาคม ค.ศ. 23641821 (51 ปี)
|death_place =[[เซนต์เฮเลนา]]
|place of burial=[[ออแตลเดอแช็งวาลีด|เลอแช็งวาลีด]], ปารีส
บรรทัด 42:
|}}
{{ใช้ปีคศ}}
'''นโปเลียน โบนาปาร์ต''' ({{lang-fr|Napoléon Bonaparte}}; [[15 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2312]] - [[5 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2364]]) เป็นนายพลในช่วง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ดำรงตำแหน่งกงสุลเอกของฝรั่งเศส ตั้งแต่ปลายปี [[พ.ศ. 2342]] (ค.ศ. 1799) และได้กลายเป็น[[จักรพรรดิ]]แห่งฝรั่งเศสระหว่างปี [[พ.ศ. 2347]] (ค.ศ. 1804) ถึง [[พ.ศ. 2357]] (ค.ศ. 1814) ภายใต้พระนามว่า '''จักรพรรดินโปเลียนที่ 1''' ทรงมีชัยและปกครองดินแดนส่วนใหญ่ของ[[ทวีปยุโรป]] และได้แต่งตั้งให้แม่ทัพและพี่น้องของเขาขึ้นครองบัลลังก์ในรัฐและอาณาจักรในยุโรปหลายแห่งด้วยกัน เช่น [[ราชอาณาจักรสเปน]], [[ราชอาณาจักรเนเปิลส์]], [[ราชอาณาจักรอิตาลี]], [[ราชอาณาจักรฮอลแลนด์]] (เนเธอร์แลนด์), [[ราชอาณาจักรสวีเดน]]
 
== วัยเยาว์และการรับราชการทหาร ==
นโปเลียนเกิดที่เมือง[[อาฌักซีโย]]หรืออายัชโช ในภาษาอิตาลี บน[[เกาะคอร์ซิกา]] เมื่อวันที่ [[15 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2312]] (ค.ศ. 1769) ซึ่งเป็นเวลาเพียง 1 ปี ภายหลังจากที่ฝรั่งเศสได้ซื้อเกาะนี้ไปจาก [[สาธารณรัฐเจนัว]] [[พ.ศ. 2311]] (ค.ศ. 1768) <ref>McLynn 1998, p.6</ref> ครอบครัวของเขาเป็นหนึ่งในตระกูลผู้ดีจำนวนน้อยนิดบนเกาะคอร์ซิก้า บิดาของเขาชื่อ[[ชาร์ลส์ มาเรีย โบนาปาร์ต]]หรือ คาร์โล มาเรีย บัวนาปาร์เต (สำเนียงอิตาลี) ได้จัดการให้เขาได้เข้ารับการศึกษาที่ประเทศฝรั่งเศส ที่เขาได้เข้าไปตั้งรกรากตั้งแต่อายุ 9 ขวบ<ref>McLynn 1998, p.2</ref><ref>Cronin 1994, p.20–21</ref>
 
ในตอนแรกเขาถูกมองว่าเป็นชาวต่างชาติคนหนึ่ง<ref>Cronin 1994, p.27</ref><ref name="rxvi">Roberts 2001, p.xvi</ref>ภายหลังการศึกษาในโรงเรียนนายร้อยทหาร ที่เมืองโอเติง บรีแอนน์ และ โรงเรียนทหารแห่งกรุงปารีส เขาก็ได้เข้าร่วมกองพลปืนใหญ่ ภายใต้กองกำลังของลาแฟร์ ที่เมืองโอซ็อนน์ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นร้อยตรีที่เมืองวาล็องซ์ ในปี [[พ.ศ. 2330]]1787 ด้วยอารมณ์ที่ซ่อนเร้น ออกแนว ''โรแมนติก'' ในงานที่เขาเขียน ความอยากรู้อยากเห็นไม่มีที่สิ้นสุด บวกกับความทรงจำที่เป็นเลิศ ในปี .ศ. 23321879 นโปเลียนหนุ่มมีความถนัดทางใช้สติปัญญามากกว่าทางใช้กำลัง<ref>Asprey 2000, p.13</ref>
 
เมื่อการปฏิวัติฝรั่งเศสประทุขึ้นในปี [[พ.ศ. 2332]]1879 ร้อยโทโบนาปาร์ตได้อยู่ในเหตุการณ์ที่[[ปารีส|กรุงปารีส]] โดยเป็นฝ่ายสังเกตการณ์ เขาได้เฝ้าดูประชาชนบุกพระราชวังตุยเลอรีด้วยความขยะแขยง นโปเลียนเดินทางกลับมายังเกาะคอร์ซิกา<ref>McLynn 1998, p.55</ref> ที่ซึ่งการสู้รบระหว่างฝ่ายต่างๆ เริ่มขึ้นอีกครั้ง (โดยมีทางฝ่ายของปาสกาล เปาลี สนับสนุนระบอบกษัตริย์ และทางตระกูลโบนาปาร์ตสนับสนุนการปฏิวัติ) นโปเลียนได้รับเลือกให้เป็นหัวหน้าของกองกำลังป้องกันตนเองแห่งชาติ ในปี [[พ.ศ. 2335]]1792 โดยการแย่งเอากองกำลังจากคณะกรรมาธิการของรัฐมาส่วนหนึ่ง แต่การประหารกษัตริย์ได้ทำให้เกิดการต่อต้านของฝ่ายอิสระ สงครามกลางเมืองได้ประทุขึ้น และตระกูลของนโปเลียนต้องหลบหนีออกจากเกาะคอร์ซิกา มายังประเทศฝรั่งเศส
 
โบนาปาร์ตสนับสนุนการปฏิวัติ และได้ถูกส่งตัวไปรับตำแหน่งนายร้อยในกองพลปืนใหญ่ ที่ศูนย์บัญชาการเมืองตูลอง (Toulon) ในปี [[พ.ศ. 2336]] (ค.ศ. 1793) ซึ่งต่อมาได้ถูกมอบให้[[สหราชอาณาจักร|อังกฤษ]]ปกครอง แผนการที่นโปเลียนมอบให้ฌาคส์ ฟร็องซัวส์ ดูก็องมิเย ทำให้สามารถยึดเมืองตูลองคืนมาจากกองทัพกลุ่มสนับสนุนระบอบกษัตริย์และพวกอังกฤษได้ มิตรภาพระหว่างเขาพวกฌาโกแบงทำให้เขาถูกจับในช่วงสั้นๆภายหลังการสิ้นอำนาจของ[[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์|รอแบ็สปีแยร์]] ในวันที่ [[27 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2337]]1794
 
หลังจากได้รับอิสรภาพ เขาก็ต้องเผชิญกับช่วงเวลาที่ปราศจากผู้บังคับบัญชาอย่างเป็นทางการ และต่อมาปอล บาร์ราส์ ได้อนุญาตให้เขาบดขยี้กลุ่มผู้สนับสนุนราชวงศ์ที่ลุกฮือที่เมืองว็องเดแมร์ เพื่อต่อต้าน[[สมัชชาแห่งชาติ]] ในปี [[พ.ศ. 2338]] (ค.ศ. 1795) ในโอกาสนี้เอง โบนาปาร์ตได้มีนายทหารหนุ่มชื่อ[[โจอาคิม มูราท์]] เป็นผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏิบัติการประสบผลสำเร็จด้วยการยิงปืนใหญ่เข้าสลายกลุ่มสนับสนุนราชวงศ์ที่เมืองซังต์โรช์
 
โบนาปาร์ตมีจิตใจผ่องใส สามารถซึมซับความรู้ทางการทหาร รวมถึงยุทธวิธีในสมัยของเขา มาประยุกต์ให้เข้ากับสถานการณ์จริง เมื่อดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าหน้าที่ในกองพลปืนใหญ่ เขาได้คิดค้นการใช้ปืนใหญ่แห่งกริโบวาลเป็นกองทัพเคลื่อนที่ ใช้หนุนกองทหารเดินเท้าอีกทีหนึ่ง
บรรทัด 62:
ตลอดการสู้รบในช่วงเวลานั้น ภาพวาดกองบัญชาการของนโปเลียนในสมัยนั้น ได้แสดงให้เห็นว่า นโปเลียนได้ใช้ระบบสื่อสารทางไกล ระบบแรกของโลกที่เรียกว่า[[โทรเลข]]ที่คิดค้นโดย[[โกลด ชาปป์]] (เช่นเดียวกับกองบัญชาการรบอื่น&nbsp;ๆ ในสมัยนั้น) นโปเลียนได้ทำให้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งบัญชาการโดย[[อาร์ชดยุก]]ชาร์ลส จำเป็นต้องลงนามในสนธิสัญญาที่เสียเปรียบ ที่มีชื่อว่า[[สนธิสัญญากัมโป-ฟอร์มิโอ]] ว่าด้วยเรื่องการให้ฝรั่งเศสเข้าครอง[[ประเทศเบลเยียม|เบลเยียม]] และยืดพรมแดนไปติด[[แม่น้ำไรน์]] ส่วนจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ได้ถือครอง[[แคว้นเวเนเซีย]]
 
เหตุการณ์ที่[[ราชอาณาจักรอิตาลี]]นี้เอง ที่ทำให้นโปเลียนได้ตระหนักถึงพลังอำนาจของตน รวมทั้งสถานการณ์ที่เขาเป็นต่อ เขาเป็นจ้าวแห่งสนามรบเช่นเดียวกับในทุก&nbsp;ๆ ที่ นคร[[มิลาน]]เกิดสภาพคล้าย&nbsp;ๆ กับพระราชวังเล็ก&nbsp;ๆ รายล้อมนายพลนโปเลียน ถึงแม้ว่าเขาจะเป็นผู้กุมชะตาชีวิตของบรรดาเศรษฐีชาวอิตาลีเอาไว้ และได้เปรียบคู่ต่อสู้อยู่มาก แต่เขาก็ยังห่างไกล กับคณะกรรมาธิการรัฐ ที่มีอำนาจบริหารจัดการประเทศ ในปี [[พ.ศ. 2340]] (ค.ศ. 1797) ด้วยแผนการของนายพล[[โอเฌโร]] นโปเลียนได้จัดการทางการเมืองบางอย่างที่ทำให้เหล่าเชื้อพระวงศ์ที่ยังคงมีอำนาจในกรุงปารีสแตกฉานซ่านเซ็น และสามารถรักษาสาธารณรัฐของพวก[[ฌาโกแบง]]เอาไว้ได้
 
== ปฏิบัติการในอียิปต์ ==
[[ไฟล์:Antoine-Jean Gros - Bonaparte visitant les pestiférés de Jaffa.jpg|280px|thumb|นโปเลียนเยือนผู้ป่วย[[กาฬโรค]]ที่เมืองจาฟฟา วาดโดย อ็องตวน-จ็อง โกรส์]]
ในปี [[พ.ศ. 2341]] (ค.ศ. 1798) สมัชชาการปฏิวัติแห่งชาติฝรั่งเศส ได้กังวลต่อกระแสความนิยมที่ประชาชนมีต่อนโปเลียนที่เพิ่มสูงขึ้น จึงได้บัญชาการให้เขานำทัพบุก[[อียิปต์]] โดยอ้างว่าฝรั่งเศสต้องการเข้าครองครองดินแดนตะวันออกใกล้ และตะวันออกกลางเพื่อตัดเส้นทางลำเลียงของอังกฤษไปยัง[[อินเดีย]] เนื่องด้วยนโปเลียนชื่นชม[[ยุคแสงสว่าง]]อยู่แล้ว เขาจึงได้ตัดสินใจนำคณะนักวิทยาศาสตร์หลากหลายสาขาร่วมทัพไปกับเขาด้วย และจัดตั้ง[[สถาบันอียิปต์ศึกษา]]ขึ้น หนึ่งในเจ้าหน้าที่หนุ่มผู้ชาญฉลาดที่ร่วมเดินทางไปกับเขา ชื่อ[[ปิแอร์-ฟร็องซัวส์-ซาวิเย บูชาร์ด]] ได้ค้นพบ[[ศิลาจารึกแห่งโรเซตตา]] ที่ทำให้นักอียิปตวิทยา [[ฌอง-ฟรองซัวส์ ฌองโปลิยง]] สามารถถอดรหัส[[ไฮโรกลิฟ]] ได้ในเวลาต่อมา
 
หลังจากที่มีชัยในการรบที่ [[มองต์ ตาบอร์]] (ฝรั่งเศสต้องการยึดเมืองในอียิปต์คืนจึงรบกับตุรกีที่มีอังกฤษหนุนหลัง) เมื่อวันที่ [[16 เมษายน]] [[พ.ศ. 2342]] (ค.ศ. 1799) การเดินทัพต่อไปยัง[[ประเทศซีเรีย|ซีเรีย]]ของนโปเลียนต้องชะงักเนื่องจากการระบาดของ[[กาฬโรค]] อันเป็นเหตุให้มีประชาชนล้มตายเป็นจำนวนมาก นโปเลียนได้เข้าจัดการช่วยเหลือผู้ติดเชื้อกาฬโรคที่เมือง[[จาฟฟา]]เท่าที่สามารถทำได้
 
เมื่อวันที่ [[21 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2341]] (ค.ศ. 1798) นโปเลียนมีชัยต่อกองกำลัง[[มาเมลุก]] (ทาสรับใช้[[กาหลิบ]]ของ[[จักรวรรดิออตโตมัน]]) ใน[[การรบที่พีระมิด]] ในสงครามเอ็มบาเบห์ ทำให้ชื่อของเขาขจรขจายไปไกล แต่การพ่ายแพ้ของเขากลับไม่เป็นที่กล่าวถึง เมื่อวันที่ [[1 สิงหาคม]] และ [[-2 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2341]] (ค.ศ. 1798) ทัพเรือของฝรั่งเศสที่นำโดยนโปเลียนถูกกองเรือของ[[โฮราชิโอ เนลสัน]] (ของอังกฤษ) ทำลายเกือบย่อยยับในการรบที่[[อ่าวอาบูกีร์]]
 
สถานการณ์ระหว่างนโปเลียนกับสมัชชาแห่งชาติดีขึ้น ทำให้เขาสละตำแหน่งผู้บัญชาการกองทัพอียิปต์ให้กับ[[ฌอง-บัพติส เกลฺแบร์]] และเดินทางกลับฝรั่งเศส ตลอดเส้นทางกลับกรุงปารีส นโปเลียนได้รับเสียงโห่ร้องชื่นชมจากประชาชนในฐานะวีรบุรุษ ส่วน[[ฌอง-บัพติส เกลฺแบร์]] ต้องพ่ายการรบเมื่อวันที่ [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2344]] (ค.ศ. 1801) หลังจากเสียนายทหารไปกว่า 13,500 นาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเหยื่อของโรคระบาด
 
== ก่อรัฐประหาร ==
บรรทัด 79:
เมื่อนายพลนโปเลียนเดินทางกลับมาถึงกรุงปารีส เขาได้เข้าพบปะสนทนากับ[[ชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์]] รัฐมนตรีการต่างประเทศ นักการเมืองผู้มีประสบการณ์ และผู้รู้เกมการเมืองเป็นอย่างดี เขาได้ช่วยเตรียมการก่อรัฐประหาร โค่นล้มคณะดีแร็กตัวร์ ซึ่งเป็นฝ่ายบริหารที่กำลังอ่อนแอและประชาชนเกลียดชัง โดยการโน้มน้าวผู้แทนราษฎรเลือกรัฐบาลใหม่ บีบให้หัวหน้าคณะรัฐบาลเดิมลาออก แล้วเลือกหัวหน้ารัฐบาลใหม่เข้ามาแทน ประกอบด้วยบุคคลสามคนที่ปราศจากมลทิน อันได้แก่ [[แอมานุแอล โฌแซ็ฟ ซีเยแย็ส]], [[รอเฌ ดูว์โก]] (สมาชิกคณะดีแร็กตัวร์สองในจำนวนทั้งหมดห้าคน) และนโปเลียน ผู้ซึ่งได้รับความไว้วางใจ ให้มาเป็นส่วนหนึ่งของแผนการ นับตั้งแต่เขายอมไปออกรบที่[[อียิปต์]] และกลับมาในฐานะวีรบุรุษ วัตถุประสงค์ของการก่อรัฐประหารครั้งนี้ก็เพื่อสร้างความมั่นใจให้ฝ่ายปฏิรูปหัวก้าวหน้า (ที่ต้องการรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง ซึ่งตรงข้ามกับพวกจาโคบังที่ยึดติดกับระบอบกษัตริย์) ว่าจะยังรักษาความมั่งคั่งไว้ได้ต่อไป และนโปเลียนที่เชื่อในระบอบสาธารณรัฐยอมก็เสี่ยงกับแผนการดังกล่าว เพราะมีกระแสจะนำ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]] มาขึ้นครองราชย์และฟื้นฟูระบอบกษัตริย์ ซึ่งหมายความว่าการปฏิวัติฝรั่งเศสที่ผ่านมานั้นไร้ผล
 
หลังจากที่ฝ่ายปฏิรูปหัวก้าวหน้าสามารถโน้มน้าวให้สภาสูงเห็นชอบกับการล้มล้างคณะดีแร็กตัวร์ได้แล้ว แผนการของการก่อรัฐประหารเมื่อวันที่ [[9 พฤศจิกายน|18 เดือนบรูว์แมร์]] [[พ.ศ. 2342]] (ค.ศ. 1799) (ตาม[[ระบบปฏิทินของสาธารณรัฐฝรั่งเศส]]) ประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ นโปเลียนจะดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด เพื่อรักษาความสงบในกรุงปารีสและใน[[รัฐสภา]] จากนั้นจึงจัดการโยกย้ายที่ทำการรัฐสภาไปยังพระราชวังแซ็ง-กลู บริเวณชานเมืองปารีส เพื่อไม่ให้เกิดการจลาจลในกรุงปารีสขณะก่อรัฐประหาร และสามารถควบคุมสถานการณ์ได้ โดยอ้างเหตุผลว่าลัทธิ[[ฌาโกแบง]]กำลังเสี่ยงต่อภัยคุกคามถึงขั้นถูกล้มล้างได้ ซึ่งในความเป็นจริงก็เป็นเช่นนั้น นับตั้งแต่[[พ.ศ. 2332]] (ค.ศ. 1789) เป็นต้นมา รัฐสภาก็ถูกประชาชนชาวปารีสคุกคามมาโดยตลอด
 
เหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นในวันที่ [[10 พฤศจิกายน|19 เดือนบรูว์แมร์]] ที่พระราชวังแซ็ง-กลู ฝ่ายปฏิรูปหัวก้าวหน้าได้เตรียมการเกลี้ยกล่อมให้คณะดีแร็กตัวร์ห้าคน ยกขบวนลาออกจากรัฐสภาแห่งชาติ รวมทั้งให้[[สภาห้าร้อย]]เลือกรัฐบาลใหม่ แต่แผนการดำเนินไปอย่างล่าช้าเนื่องจากแนวคิดนี้ไม่ได้รับฉันทามติจากทุกฝ่าย โดยเฉพาะพวก[[ฌาโกแบง]]สองคนไม่ยอมลาออก นโปเลียนเฝ้ารอและตัดสินใจเข้าแทรกแซงในที่สุด
บรรทัด 93:
== จากกงสุลกลายเป็นจักรพรรดิ ==
[[ไฟล์:Jacques-Louis_David_007.jpg|thumb|250px|right|ภาพ ''นโปเลียนข้ามเทือกเขาแอลป์'' <br> วาดโดย [[ฌัก-หลุยส์ ดาวีด]]]]
นโปเลียนได้เริ่มการปฏิรูปนับตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการปกครองใน[[ระบอบกงสุล]] ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการศึกษา กระบวนการยุติธรรม การคลัง และระบบราชการ ประมวลกฎหมายแพ่งที่[[ฌอง-ฌากส์ เรฌีส์ เดอ กองบาเซแรส์]]เป็นผู้เรียบเรียงขึ้นนั้น เป็นที่รู้จักในนามของ[[กฎหมายนโปเลียน]] แห่งปี [[พ.ศ. 2347]] (ค.ศ. 1804) และยังมีผลบังคับใช้ในประเทศต่าง&nbsp;ๆ ทั่วโลกในปัจจุบัน อย่างไรก็ดี กฎหมายแพ่งดังกล่าวนั้นมีรากฐานมาจาก กฎหมายในหมวดต่าง&nbsp;ๆ รวมถึงขนบธรรมเนียมหลากหลายจากระบอบปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งนโปเลียนได้รวบรวมขึ้นใหม่
 
ผลงานทางราชการของนโปเลียนมีต่อเนื่องมาจนกระทั่งถึงปี [[พ.ศ. 2357]] (ค.ศ. 1814) เขาได้จัดตั้งโรงเรียนมัธยม ธนาคารแห่งชาติฝรั่งเศส ระบบเงิน[[ฟรังก์แฌร์มินาล]] ที่ว่าการอำเภอ สภาที่ปรึกษาของรัฐ ริเริ่มการรังวัดพื้นที่ทั่วอาณาจักรฝรั่งเศส และจัดตั้งสมาคมเครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งชาติ (L'ordre national de la Légion d'honneur)
 
ในปี [[พ.ศ. 2343]] (ค.ศ. 1800) นโปเลียนได้นำทัพบุกออสเตรียและยึดครองได้สำเร็จ ทำให้ออสเตรียที่พ่ายต่อทัพของนโปเลียนที่สมรภูมิเมือง[[มาเร็งโก]] และต่อทัพของ[[ฌอง วิคตอร์ มารี โมโร]]ที่เมือง[[โฮเฮนลินเดอร์]] ต้องยอมลงนามใน[[สนธิสัญญาลูเนวิลล์]] ในวันที่ [[9 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2344]] (ค.ศ. 1801) ซึ่งทำให้อังกฤษยอมลงนามใน[[สนธิสัญญาสงบศึกอาเมียง]]ในเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2344]]1801 ในกาลต่อมา ถ้าหากแม้อำนาจของนโปเลียนถูกสั่นคลอนภายหลังก่อรัฐประหาร ชัยชนะในสมรภูมิที่เมือง[[มาเร็งโก]]ก็ทำให้สถานการณ์ของนโปเลียนแข็งแกร่งขึ้นเป็นอันมาก
 
เขาได้ส่งทหาร 70,000 นายไปยังเมือง[[แซงต์-โดมังก์]] (ชื่อของ[[ประเทศเฮติ|เฮติ]]ที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศสในสมัยนั้น) ภายใต้การบังคับบัญชาของนาลพล [[ชาลล์ เลอแคลฺ]] เพื่อฟื้นฟูอำนาจของฝรั่งเศส หลังจากประสบความสำเร็จมาพอสมควร โดยเฉพาะจากการจับ[[ตูแซงต์ ลูแวร์ตูร์]] (ผู้ซึ่งเสียชีวิตที่[[ฟอร์ เดอ จัวย์]] ที่อำเภอ[[ดูบส์]] วันที่ [[7 เมษายน]] [[พ.ศ. 2346]]1803) กองทัพของเขาก็ถูกทำลายโดยการระบาดของ[[ไข้เหลือง]] เมื่อเห็นดังนี้ นโปเลียนจึงยอมขาย[[รัฐลุยเซียนา]] ให้กับ[[สหรัฐอเมริกา]] ดินแดนขนาดใหญ่ทางตอนเหนือของ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]
 
เมื่อวันที่ [[24 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2343]] (ค.ศ. 1800) ([[วันคริสต์มาสอีฟ]]) ได้มีการลอบวางระเบิดนโปเลียนที่ถนนซังต์-นิเคส ในกรุงปารีส ขณะที่ขบวนรถม้าของเขากำลังมุ่งหน้าไปโรง[[โอเปร่า]] รถม้าของกงสุลเอกได้ควบผ่านพ้นจุดเกิดเหตุไปอย่างรวดเร็ว ระเบิดเกิดปะทุขึ้นช้ากว่าที่คาดทำให้กระจกรถม้าแตกกระจายเท่านั้น แต่สถานที่เกิดเหตุที่กลายเป็นซากปรักหักพังเต็มไปด้วยความโกลาหล มีผู้เสียชีวิตกว่าสิบคน [[โฌแซฟ ฟูเช]] ซึ่งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีมหาดไทยในสมัยนั้น ได้พิสูจน์ว่าอาชญากรรมดังกล่าวเป็นฝีมือกลุ่มฝักใฝ่กษัตริย์ ในขณะที่นโปเลียนเชื่อว่าเป็นฝีมือของพวก[[ฌาโกแบง]] การประหาร[[ลุยส์ อังตวน อ็องรี เดอ บูร์บง|ดยุกแห่งอิงไฮน์]]เป็นหนึ่งในผลพวงตามมา
 
ในปี [[พ.ศ. 2345]] (ค.ศ. 1802) นโปเลียนได้รื้อฟื้น[[ระบบทาส]]ในดินแดนอาณานิคมขึ้นอีกตามคำขอของภริยา อันได้แก่นาง[[โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน]] (ชาว[[เบเก]] จากหมู่เกาะ [[มาร์ตีนีก]]) การฟื้นฟูดังกล่าวทำให้ระบบเศรษฐกิจที่ล้มเหลวของอาณานิคมโพ้นทะเลทางตะวันออกของ[[มหาสมุทรอินเดีย]]กระเตื้องขึ้น ต้องรอถึงปี [[พ.ศ. 2391]] (ค.ศ. 1848) กว่าความพยายามใน[[การเลิกทาส]]อย่างเด็ดขาดจะประสบความสำเร็จ
 
หลังจากที่นโปเลียนได้ขยายอิทธิพลไปถึง[[ประเทศสวิตเซอร์แลนด์|สวิส]] ที่ได้จัดตั้งสถาบันกระจายอำนาจในปัจจุบัน และไปยัง[[สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี|เยอรมนี]] กรณีพิพาทของ[[มอลตา]]ก็เป็นข้ออ้างให้อังกฤษประกาศสงครามกับ[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]อีกครั้งในปี [[พ.ศ. 2346]] (ค.ศ. 1803) รวมทั้งหนุนหลังฝ่ายฝักใฝ่ระบอบกษัตริย์ที่ต่อต้านนโปเลียน นโปเลียนได้ตอบโต้ด้วยแนวคิดในการบุกอังกฤษ และเพื่อข่มขวัญฝ่ายฝักใฝ่กษัตริย์ที่อาจจะกำลังลอบวางแผนโค่นล้มเขาอยู่ กงสุลเอกได้สั่งประหาร[[ลุยส์ อังตวน อ็องรี เดอ บูร์บง|ดยุกแห่งอิงไฮน์]] เจ้าชายแห่งราชวงศ์[[บูร์บง]]
 
[[ไฟล์:Andrea Appiani 002.jpg|thumb|200px|left|นโปเลียนยกตัวเองขึ้นเป็น[[พระมหากษัตริย์อิตาลี|กษัตริย์แห่งอิตาลี]] เมื่อวันที่ [[26 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2348]]1805 ที่นคร[[มิลาน]] ]]
 
การประหารเกิดขึ้นที่เมือง[[แวงแซนน์]]ชานกรุงปารีส ภายหลังการไต่สวนที่ถูกจัดฉากให้ดูเป็นไปตามกระบวนการ (ซึ่งก็พบว่าเจ้าชายไม่มีความผิด) มีเพียงอังกฤษเท่านั้นที่ทักท้วง ส่วน[[รัสเซีย]]และออสเตรียนั้น สงวนท่าทีไม่ยอมทัดทาน ทำให้เกิดเสียงเล่าลือเกี่ยวกับนโปเลียนว่าเป็น ''[[มักซีมีเลียง รอแบ็สปีแยร์|รอแบ็สปีแยร์]]บนหลังม้า'' (ที่เกาะ[[เซนต์เฮเลนา]] นโปเลียนยอมรับความผิดนี้ แม้ว่า[[ชาร์ล มอริส เดอ ตาแลร็อง-เปรีกอร์|ตาแลร็อง]]จะมีส่วนพัวพันด้วยก็ตาม) หลังจากได้ก่อความผิดนี้ต่อสาธารณรัฐ และเพื่อไม่ให้กงสุลเอกขึ้นชื่อว่าก่อคดีสังหารบุคคลในราชวงศ์ซ้ำซ้อน นโปเลียนจึงได้สถาปนาตนเองขึ้นเป็นจักรพรรดิเมื่อวันที่ [[2 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2347]] (ค.ศ. 1804)
 
ถ้าจะว่ากันไปแล้ว จักรวรรดิฝรั่งเศสเกิดขึ้นจากคำขอของวุฒิสภา นักประวัติศาสตร์[[สตีเฟน อิงลุนด์]]เชื่อในแนวความคิดที่ว่า การสถาปนาตนขึ้นเป็นจักรพรรดิของนโปเลียนนั้นเป็นไปเพื่อปกป้องสาธารณรัฐ หากนโปเลียนถูกโค่น กลุ่มคนต่างๆ จะล่มสลายไปกับเขาด้วย จักรพรรดิได้กลายมาเป็นสถาบัน ตอกย้ำความยั่งยืนของความเชื่อในการปกครองระบอบสาธารณรัฐ หากนโปเลียนตาย นั่นคือการสูญเสียผู้สืบทอดตำแหน่งที่มีหน้าที่ปกป้องประเทศจากความโกลาหล และนั่นหมายถึงความสูญเสียของสิ่งที่ได้มาจากการปฏิวัติฝรั่งเศส (''ความเสมอภาค'' ''อิสรภาพ'' และ ''ความยุติธรรม'') การที่เงินเหรียญของทางการฝรั่งเศสจารึกคำว่า ''จักรพรรดินโปเลียน - สาธารณรัฐฝรั่งเศส'' นั้น มิใช่คำพูดเสียดสีแต่อย่างใด
บรรทัด 116:
 
[[ไฟล์:Jacques-Louis David 019.jpg|thumb|400px|ภาพ ''พิธีราชาภิเษกของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 และจักรพรรดินีโฌเซฟีน ใน[[มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส]]'' วาดโดย [[ฌัก-หลุยส์ ดาวีด]]]]
พิธีขึ้นครองราชย์ของนโปเลียนมีขึ้น ''ภายใต้พระเนตรของ[[สมเด็จพระสันตะปาปา]]'' ที่ไม่ได้รับเกียรติให้สวมมงกุฎให้นโปเลียน แต่ถูกลดบทบาทให้แค่มาร่วมให้พรแก่จักรพรรดิฝรั่งเศสเท่านั้น แต่ก็นับเป็นโอกาสดีในการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างฝรั่งเศสกับ[[วาติกัน]] การลงนามของกงสุลเอกในปี [[พ.ศ. 2344]] (ค.ศ. 1801) นั้น มีเนื้อหายอมรับว่า[[คริสต์ศาสนา]][[นิกายโรมันคาทอลิก]] เป็นศาสนาของ''ชาวฝรั่งเศสส่วนใหญ่'' แต่ไม่ใช่ศาสนาประจำชาติ นับแต่นั้นเป็นต้นมา นักบวชจะต้องอยู่ในความควบคุมของรัฐ ในการฟื้นฟู[[นิกายโรมันคาทอลิก]] ทำให้เกิดความกังขาว่า เป็นไปได้หรือที่จะเกิดการฟื้นฟูนิกายโรมันคาทอลิก ภายในระยะเวลาไม่ถึงสิบปีหลังจากที่หลวงยึดทรัพย์สินของโบสถ์ นโปเลียนสงวนท่าทีต่อหน้าสมเด็จพระสันตะปาปา เขาออกไปต้อนรับพระสันตะปาปาที่[[ป่าฟงแตนโบล]] โดยขี่ม้าไปและสวมชุดล่าสัตว์ ทำให้ฉากการพบปะดังกล่าวมีลักษณะเหมือนการพบกันโดยบังเอิญ และเช่นเดียวกัน ในปี [[พ.ศ. 2347]]1804 จักรพรรดิมิได้เป็นผู้เดินทางไปประกอบพิธีขึ้นครองราชย์ที่[[โรม|กรุงโรม]] ตามที่จักรพรรดิเยอรมันเคยกระทำ แต่เป็นพระสันตะปาปาที่ถูกเชิญมายังกรุงปารีส ราวกับว่าเป็นนักบวชที่เดินทางมาแสวงบุญ
 
เราจะเห็นได้ว่า การที่นโปเลียนเข้าหาศาสนจักรนั้น เป็นไปเพื่อผลประโยชน์เฉพาะอย่าง (สร้างสัมพันธ์ระหว่างคาทอลิกกับฝรั่งเศส และทำให้จักรพรรดิมีฐานะเทียบเท่ากับกษัตริย์อย่างถูกต้อง) และเมื่อพระสันตะปาปามีท่าทีกระด้างกระเดื่องต่อคำสั่งของนโปเลียน เขาก็ไม่รอช้าที่จะขังพระสันตะปาปาไว้ใน[[พระราชวังฟงแตนโบล]]
 
== จักรวรรดิเรืองอำนาจ ==
ในปี [[พ.ศ. 2347]] (ค.ศ. 1804) ยังไม่ถึงเวลาแห่งการออกรบครั้งใหญ่เพื่อยึดครองดินแดน และจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ซึ่งยึดติดกับแนวความคิดว่า สันติภาพอย่างถาวรจะมีได้ ต่อเมื่อปราบ[[สหราชอาณาจักร]]ลงได้เท่านั้น ได้ร่วมกับ[[พลเรือเอก]][[ลุยส์ เรอเน เลอวาสซอร์ เดอ ลาตุชเชอ-เตรวิลล์|ลาตุชเชอ-เตรวิลล์]] (ผู้ซึ่งเสียชีวิตก่อนจะกระทำการสำเร็จ) วางแผนบุกอังกฤษ ซึ่งเป็นแผนที่ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง จากการรบที่[[ยุทธนาวีทราฟัลการ์]] กองเรือผสม[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]-[[สเปน]]ที่บัญชาการโดย ''[[ปีแยร์-ชาร์ล วีลเนิฟว์|พลเรือโท วีลเนิฟว์]]'' ถูก ''[[โฮราชิโอ เนลสัน|พลเรือโท ลอร์ด เนลสัน]]'' แห่งราชนาวีอังกฤษตีจนแตกพ่าย ทำให้[[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์|สหราชอาณาจักร]] กลายเป็นมหาอำนาจทางทะเล นับแต่นั้นจวบจนในอีกหนึ่งศตวรรษต่อมา
 
[[ไฟล์:Ingres, Napoleon on his Imperial throne.jpg|thumb|200px|left|จักรพรรดินโปเลียนที่ 1บนพระราชอาสน์]]
ในปีเดียวกันนั้นเอง ([[พ.ศ. 2348]]1805) ได้มีการจัดตั้ง[[กลุ่มแนวร่วมที่สาม]]ในยุโรปขึ้นเพื่อต่อต้านจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทำให้จักรพรรดิผู้ซึ่งกำลังบัญชาการ จากเมือง[[บูลอญ]]ใน[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]] เพื่อเตรียมการบุกบริเตนใหญ่ ต้องเผชิญกับสงคราม ซึ่งเกิดขึ้นในอีกฟากหนึ่งของทวีปยุโรปอย่างกะทันหัน จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้รับสั่งให้ตั้งรับโดยทันที โดยบังคับให้นำทัพใหญ่ออกเดินเท้า และสัญญาว่าจะนำชัยชนะ ต่อพวกออสเตรียและรัสเซียมาให้จาก[[ยุทธการที่เอาสเทอร์ลิทซ์]] ที่ได้ชื่อว่าเป็น''"สงครามสามจักรพรรดิ"''
 
ในปี [[พ.ศ. 2349]] (ค.ศ. 1806) [[ปรัสเซีย]]ได้ก่อเหตุพิพาทครั้งใหม่ ซึ่งเป็นแผนการที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ยังชื่นชม ในความรวดเร็วของการนำแนวคิดเรื่อง ''"จิตวิญญาณแห่งโลก"''ของ[[เกออร์ก วิลเฮล์ม ฟรีดริช เฮเกล|เฮเกล]]มาใช้ แต่จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ก็สามารถกวาดล้างกองทัพ[[ปรัสเซีย]] ที่การรบใน[[สมรภูมิอิเอนา]]ได้ในที่สุด (ซึ่งได้ความยินดีเป็นสองเท่าจากชัยชนะของ[[ดาวูต์]] ที่เมือง[[โอเออสเต็ดท์]]ในช่วงเวลาเดียวกัน) แต่จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ยังไม่หยุดแค่นั้น ในปีถัดมาพระองค์ได้ทรงเดินทัพข้าม[[โปแลนด์]]และสิ้นสุดลงด้วยการลงนามในสนธิสัญญาเมือง[[ทิลสิท]]ในเดือนกรกฎาคม [[พ.ศ. 2350]] (ค.ศ. 1807) กับ[[อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย|พระเจ้าจักรพรรดิอเล็กซานเดอร์ที่ 1]] [[ซาร์แห่งรัสเซีย]]แห่งรัสเซีย อันเป็นสนธิสัญญาว่าด้วยการแบ่งดินแดนยุโรปกันระหว่างฝรั่งเศสและรัสเซีย สองมหาอำนาจในขณะนั้น เพื่อเป็นการข่มขวัญศัตรู (ฝรั่งเศสครองยุโรปตะวันตก และรัสเซียครองยุโรปตะวันออก โดยมีโปแลนด์อยู่ตรงกลาง)
 
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ผู้ซึ่งได้รับการศึกษาจากโรงเรียนและครูบาอาจารย์ในระบอบเก่า ต่อมาได้ดำรงตำแหน่งนายทหารในกองทัพหลวง ได้ทำลายกฎเกณฑ์ดั้งเดิมทางการทหารอย่างสิ้นเชิง ด้วยการไม่ริเริ่มสงครามที่กินเวลานานกว่าหนึ่งศตวรรษในการรบด้วยพลทหาร 30 ถึง 50,000 นาย แต่มองหาการรบที่สามารถเผด็จศึกได้อย่างเด็ดขาด ใช้ทหารกว่า 100,000 นายหากจำเป็น นั่นคือจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ไม่ต้องการจะเป็นผู้นำในสมรภูมิเท่านั้น แต่ต้องการจะบดขยี้ศัตรูอีกด้วย
 
ในปี [[พ.ศ. 2351]] (ค.ศ. 1808) จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้ทรงสร้างระบบศักดินาของจักรวรรดิฝรั่งเศสให้แก่กลุ่มชนชั้นสูงที่แวดล้อมพระองค์ ไม่นานต่อมา บรรดานายพันและนายพลของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ต่างได้รับฐานันดรเป็นท่านเคานต์แห่งจักรวรรดิ เจ้าชายแห่ง[[เนอชาแตล]] ดยุกแห่ง[[โอเออสเต็ดท์]] ดยุกแห่ง[[มองต์เบลโล]] ดยุกแห่ง[[ดันต์ซิก]] ดยุกแห่ง[[เอลชิงเกน]] กษัตริย์แห่ง[[ราชอาณาจักรเนเปิลส์|เนเปิลส์]] ฯลฯ
 
จากกรุง[[อัมสเตอร์ดัม]]ถึงกรุงโรม จักรวรรดิของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 มีประชากรรวมทั้งสิ้นกว่า 70 ล้านคน โดยมีเพียง 30 ล้านคนเท่านั้นที่เป็นชาวฝรั่งเศส
 
== ปฏิบัติการที่คาบสมุทรไอบีเรีย ออสเตรีย และรัสเซีย ==
{{บทความหลัก|การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส}}
เนื่องด้วยแนวคิดของอังกฤษที่จะกีดกันเรือสินค้าฝรั่งเศส จักพรรดินโปเลียนที่ 1 เลยพยายามจะบังคับให้เกิด[[การกีดกันภาคพื้นทวีป]] โดยมีวัตถุประสงค์จะหยุดยั้งกิจกรรมทางการพาณิชย์ของอุตสาหกรรมอังกฤษ โปรตุเกส อันเป็นประเทศพันธมิตรของอังกฤษมาเป็นเวลาช้านาน ปฏิเสธที่จะลงนามในสนธิสัญญานี้ จักพรรดินโปเลียนที่ 1 จึงทรงขอความช่วยเหลือจากสเปนในการบุกโปรตุเกส ในที่สุดพระองค์ก็ได้รุกรานประเทศสเปน และตั้ง[[โฌแซ็ฟ โบนาปาร์ต]] น้องชายขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองที่นั่น และ[[โปรตุเกส]]ก็ถูกจักพรรดินโปเลียนที่ 1 รุกรานเช่นกันในปี [[พ.ศ. 2350]] (ค.ศ. 1807) ประชากรส่วนหนึ่งของ[[สเปน]]ที่คลั่งใคล้ในกลุ่มนักบวชได้ลุกฮือขึ้นต่อต้านชาวฝรั่งเศส ในไม่ช้า กองพลทหารราบฝีมือเยี่ยมของอังกฤษ บัญชาการโดยว่าที่[[ดยุกแห่งเวลลิงตัน]] (อาร์เธอร์ เวลสลีย์) ก็ได้เคลื่อนทัพสู่สเปน โดยผ่านโปรตุเกสในปี [[พ.ศ. 2351]] (ค.ศ. 1808) และด้วยความช่วยเหลือของกลุ่มผู้รักชาติชาวสเปน ก็ได้ผลักดันกองทัพฝรั่งเศสออกจาก[[คาบสมุทรไอบีเรีย]] ในขณะที่กองทหารที่ฝีมือดีที่สุดของฝรั่งเศสกำลังปฏิบัติภารกิจอยู่ใน[[สเปน]] ออสเตรียก็ได้บุกฝรั่งเศสอีกครั้งจากแถบเยอรมนี และถูกปราบลงอย่างราบคาบใน[[ยุทธการวากร็อง]] จอมพล[[ลานส์]] เพื่อนและผู้ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่ของจักรพรรดิจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้ถึงแก่กรรมที่เมือง[[เอสลิง]]
 
หลังจากที่ซาร์[[อเล็กซานเดอร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย]] ได้รับการหนุนหลังจากชนชั้นสูงในรัสเซียที่เข้าข้างฝ่ายอังกฤษ ก็ได้ปฏิเสธที่จะร่วมมือกับจักพรรดินโปเลียนที่ 1 ในการโจมตี[[สหราชอาณาจักร]] จักพรรดินโปเลียนที่ 1 ซึ่งเชื่อว่าไม่มีทางหลีกเลี่ยงสงครามกับอังกฤษได้ ได้กรีฑาทัพ[[การรุกรานรัสเซียของฝรั่งเศส|บุกรัสเซียในปี พ.ศ. 2355]] (ค.ศ. 1812) ทัพ[[กองทัพใหญ่]]ของจักพรรดินโปเลียนที่ 1 ประกอบด้วยกองทัพพันธมิตร[[อิตาลี]] เยอรมนี และออสเตรียมีขนาดมหึมา มีทหารกว่า 600,000 นายที่ร่วมเดินทัพข้าม [[แม่น้ำนีเมน]]
 
พวกรัสเซียที่บัญชาการโดย[[มีฮาอิล คูตูซอฟ|จอมพล มีฮาอิล คูตูซอฟ]] ได้ใช้ยุทธวิธี ''[[scorched earth]]'' โดยถอยร่นให้ทัพฝรั่งเศสรุกเข้ามาให้รัสเซีย การรบที่[[ยุทธการมอสโก|มอสโก]]เมื่อวันที่ [[12 กันยายน]] ไม่มีผู้ใดแพ้ชนะ แม้ว่าพวกรัสเซียจะเป็นฝ่ายทิ้งชัยภูมิ แต่ทั้งสองฝ่ายก็เสียทหารไปในจำนวนเท่า ๆ กัน
 
วันรุ่งขึ้นหลังจากกองทัพฝรั่งเศสเคลื่อนทัพเข้ากรุงมอสโก ก็พบว่ามอสโกกลายเป็นเมืองร้าง เมื่อฝรั่งเศสตายใจ พวกรัสเซียได้จุดไฟเผากรุงมอสโกในทันที ทำให้จักพรรดินโปเลียนที่ 1 ต้องถอยทัพ ฤดูหนาวอันโหดร้าย กำลังจะมาเยือนดินแดนแถบรัสเซียในอีกเพียงไม่กี่วัน จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ที่คาดว่าจะมีความเคลื่อนไหวจากซาร์ซาร์ได้ชะลอการถอยทัพไปจนถึงนาทีสุดท้าย
เส้น 147 ⟶ 148:
หลังจากที่ได้ใจจากข่าวความพ่ายแพ้ของฝรั่งเศสในรัสเซีย กษัตริย์ยุโรปหลายพระองค์ได้แปรภักดิ์จากฝ่ายจักพรรดินโปเลียนที่ 1 และยกทัพมารบกับฝรั่งเศส จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ซึ่งถูกคนในกองทัพของพระองค์เองทรยศ ได้พบกับความพ่ายแพ้อย่างสิ้นเชิงที่[[ยุทธการไลพ์ซิก]] หรือที่รู้จักในนามของ ''สงครามนานาชาติ'' ซึ่งกองทัพฝรั่งเศส 200,000 นายปะทะกับกองทัพพันธมิตร 500,000 นาย (รัสเซีย ออสเตรีย เยอรมนี [[สวีเดน]]) จอมพล[[โจเซฟ แอนโทนี โปเนียโตวสกี]] เจ้าชายแห่ง[[โปแลนด์]]และพระราชนัดดาของราชาองค์สุดท้ายของโปแลนด์ ได้สิ้นพระชนม์ลงในการรบครั้งนี้ หลังจากพยายามนำทหารของพระองค์ข้าม[[แม่น้ำเอลสเตอร์]] มีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตรวมทั้งสิ้น 100,000 คน
 
[[ไฟล์:Europe map Napoleon 1811.png|right|170px|frame|อาณาเขตของจักรวรรดิฝรั่งเศสในช่วงปี [[พ.ศ. 2354]]1811 สีม่วงหมายถึง[[ประเทศฝรั่งเศส|ฝรั่งเศสแผ่นดินแม่]] สีม่วงอ่อนหมายถึง รัฐในอารักขาของฝรั่งเศส]]
 
== ความพ่ายแพ้ในฝรั่งเศส ==
ในปี [[พ.ศ. 2357]] (ค.ศ. 1814) [[สหราชอาณาจักร]], [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[ปรัสเซีย]] และ[[จักรวรรดิออสเตรีย|ออสเตรีย]] ได้ร่วมเป็นพันธมิตร แม้ว่าจักรพรรดินโปเลียนที่ 1จะมีชัยอย่างไม่น่าเชื่อในการรบที่ [[ฌองโปแบร์]] และ[[มองต์มิไรล์]] ด้วยการนำทัพทหารใหม่ขาดประสบการณ์ (''กองทัพมารี หลุยส์'' ที่ตั้งชื่อตาม[[อาร์คดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย]] พระมเหสีในจักรพรรดินโปเลียนที่ 1) กรุงปารีสถูกตีแตกเมื่อวันที่ [[31 มีนาคม]] และเหล่าจอมพลได้บังคับให้จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 สละราชบัลลังก์
 
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทรงคิดว่าฝ่ายพันธมิตรจะแยกเขาออกจากจักรพรรดินี และ[[จักรพรรดินโปเลียนที่ 2]] กษัตริย์แห่งโรม พระโอรสของพระองค์ ดังนั้น ในคืนวันที่ 12 และเช้าวันที่ [[13 เมษายน]] จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้เสวยยาพิษไปในปริมาณที่จะปลิดชีพพระองค์เองได้ นั่นคือ [[ฝิ่น]]ผสมกับน้ำเล็กน้อย มีคนบอกพระองค์ว่าส่วนผสมดังกล่าวมีพิษมากพอที่จะฆ่าคนได้ถึงสองคน
 
พระองค์เลือกที่จะฆ่าตัวตายด้วยวิธีนี้เพราะเชื่อว่าศพของพระองค์จะต้องถูกประจานให้คนฝรั่งเศสดู พระองค์ต้องการให้ข้าราชบริพารของพระองค์จำพระพักตร์ที่เรียบเฉยได้ เช่นเดียวกับที่เคยเห็นพระองค์ในสมรภูมิ
เส้น 172 ⟶ 173:
ที่ประเทศฝรั่งเศส [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]] ทรงขับ[[นโปเลียนที่ 2|จักรพรรดินโปเลียนที่ 2]] และขึ้นครองราชย์แทน จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 เป็นกังวลเกี่ยวกับชะตากรรมของพระมเหสี โดยเฉพาะอย่างยิ่งของพระโอรสของพระองค์ที่ตกอยู่ในเงื้อมมือของพวกออสเตรีย รัฐบาลฝรั่งเศสที่ฝักใฝ่ระบอบกษัตริย์ปฏิเสธจะจ่ายค่าเลี้ยงดูให้ตามสัญญาในที่สุด และมีข่าวลือว่าเขากำลังจะถูกส่งตัวไปยังเกาะเล็ก ๆ ทางตอนใต้ของ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]
 
ดังนั้น จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ที่หลบหนีออกจากห้องขังบนเกาะเอลบา ได้ขึ้นสู่ฝั่งบนแผ่นดินฝรั่งเศสใกล้กับเมือง[[คานส์]] เมื่อเดือนมีนาคม [[พ.ศ. 2358]] (ค.ศ. 1815) กองทัพที่ถูกส่งไปจับกุมตัวเขากลับมาต่างโห่ร้องต้อนรับเยี่ยงวีรบุรุษตลอดเส้นทางจาก[[ชายฝั่งริเวียราฝรั่งเศส]] ขึ้นมายังเมือง[[ลียอง]] ซึ่งเส้นทางดังกล่าวถูกเรียกว่า ''"ถนนสายจักรพรรดินโปเลียนที่ 1"'' ไปแล้ว จอมพล[[มิเชล ไนย]]ผู้ซึ่งได้สาบานต่อหน้า[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]] ว่าจะนำจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 กลับมาในกรงเหล็ก ก็รู้สึกโอนอ่อนเข้าหาฝ่ายจักรพรรดิเดิมของตน (หลังที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 เดินอย่างอุกอาจเข้าไปประกาศต่อฝูงชนว่า ''"ทหารแห่งกองทัพที่ 5 ข้าคือจักรพรรดิของพวกเจ้า พวกเจ้าก็รู้จักข้าดีอยู่แล้วมิใช่หรือ ถ้าหากมีใครในหมู่พวกเจ้าทั้งหลายมาเพื่อที่จะจับจักรพรรดิของเจ้า ข้าก็อยู่ที่นี่แล้ว"'') ทำให้เขากลายเป็นจอมพลคนเดียวที่ถูกจับกุมในข้อหาทรราชย์ หลังจากการฟื้นฟูระบอบกษัตริย์ครั้งที่สอง จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 เดินทางถึงกรุงปารีสอย่างง่ายดาย ช่วงเวลา"''คืนสู่อำนาจเป็นเวลาร้อยวัน''" เริ่มต้นขึ้น แต่ความล้มเหลวก็เกิดขึ้นซ้ำรอย กองทัพของเขาพ่ายการรบกับอังกฤษและ[[ปรัสเซีย]]ที่[[ยุทธการวอเตอร์ลู]] ใน[[เบลเยียม]] เมื่อวันที่ [[18 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2358]]1815 จอมพล[[กรูชี]]ไม่สามารถต้านทานกองทัพร่วมระหว่างอังกฤษและ[[ปรัสเซีย]]ได้ เนื่องจากเป็นทัพหลวงที่ยกมา
 
== ถูกเนรเทศไปเกาะเซนต์เฮเลนา และกำเนิดของตำนาน ==
[[ไฟล์:IMG 1344.JPG|thumb|200px|right|พระบรมอัฐิของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ถูกฝังไว้ที่[[สุสานแองวาลีด]] ในกรุงปารีส]]
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทรงถูกขัง และถูกอังกฤษส่งตัวไปยัง[[เกาะเซนต์เฮเลนา]] ตามบัญชาการของ[[เซอร์ฮัดสัน โลว]] พร้อมกับนายทหารที่ยังจงรักภักดีบางส่วน รวมถึงเคานต์[[ลาส กาส]]ด้วย จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ใช้เวลาบนเกาะเซนต์เฮเลนา อุทิศให้กับการเขียนบันทึกความทรงจำของพระองค์ ในช่วงครึ่งหลังของเดือนเมษายน [[พ.ศ. 2364]] (ค.ศ. 1821) พระองค์ได้ทรงเขียนพินัยกรรม และหมายเหตุพินัยกรรมหลายฉบับด้วยพระองค์เอง รวมกว่าสี่สิบหน้าด้วยกัน คำพูดสุดท้ายของพระองค์ก่อนสิ้นใจได้แก่ ''"ฝรั่งเศส กองทัพ แม่ทัพ โฌเซฟีน"'' หรือจากที่บันทึกไว้ใน "จดหมายเหตุเกาะเซนต์เฮเลนา" คือ ''"...ศีรษะ...กองทัพ...พระเจ้าช่วย!"''
 
ในปี [[พ.ศ. 2538]] (ค.ศ. 1995) จดหมายเหตุของเคานต์[[ลุยส์ มาร์ชองด์]] ข้ารับใช้ของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้ถูกตีพิมพ์ เขาได้เขียนเล่าเหตุการณ์ ช่วงไม่กี่เดือนสุดท้ายก่อนจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 จะสวรรคต และหลายคนเชื่อว่าพระองค์ถูกลอบวางยาพิษด้วย[[สารหนู]] ในปี [[พ.ศ. 2544]] (ค.ศ. 2001) ปาสคาล คินท์ แห่งสถาบันกฎหมายเมือง[[สตราสบูร์ก]]ได้ทำการพิสูจน์ทฤษฎีนี้ ด้วยการศึกษาหาระดับสารหนูในเส้นพระเกศา (ผม) ของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ภายหลังจากที่พระองค์สวรรคต ซึ่งก็พบว่ามีสารหนูอยู่เกินกว่าระดับปกติ 7 ถึง 38 เท่า การวิเคราะห์ของนิตยสาร ''[[วิทยาศาสตร์และชีวิต]]'' ได้แสดงให้เห็นว่า สามารถพบสารหนูในระดับความเข้มข้นเท่ากันจากตัวอย่างที่เก็บได้มาจากปี [[พ.ศ. 2348]]1805, [[พ.ศ. 2357]]1814 และ [[พ.ศ. 2364]]1821 ดังนั้นจึงต้องกล่าวถึง ธรรมเนียมในสมัยนั้นที่นิยมสวมวิกผมพ่นทับด้วยแป้งผง ยิ่งไปกว่านั้น เราอาจเชื่อในการวิเคราะห์ของนักวิจัยชาวสวิสที่บอกว่า จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 สวรรคตจากโรค[[มะเร็ง]]ในกระเพาะ แม้ว่าจักรพรรดิจะมีพระวรกายค่อนข้างเจ้าเนื้อก่อนสวรรคต (น้ำหนัก 75.5 ก.ก. ส่วนสูง 167 ซ.ม.) นักวิจัยยังได้สำรวจกางเกงที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 สวมใส่ในสมัยนั้น และสามารถระบุได้ว่าพระองค์มีน้ำหนักลดลงถึง 11 ก.ก. ภายในเวลา 5 เดือนก่อนการสวรรคต สมมติฐานดังกล่าวเคยถูกกล่าวว่าไม่น่าจะเกิดขึ้นได้เนื่องจากจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 มีพระวรกายใหญ่เกินกว่าที่จะเป็นคนป่วยด้วยโรคมะเร็ง
 
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ได้ทรงขอให้ฝังพระศพของพระองค์ไว้ริมฝั่ง[[แม่น้ำแซน]] แต่เมื่อพระองค์เสด็จสวรรคตในปี [[พ.ศ. 2364]] (ค.ศ. 1821) พระศพของพระองค์ได้ถูกปลงที่[[เกาะเซนต์เฮเลนา]] ในปี [[พ.ศ. 2383]] (ค.ศ. 1840) พระบรมอัฐิอัฐิได้ถูกนำกลับมายังประเทศฝรั่งเศสด้วยการต้อนรับอย่างสมพระเกียรติ และได้ถูกฝังไว้ที่[[สุสานแองวาลีดออแตลเดแซ็งวาลีด]]ในกรุงปารีส โดยใส่ไว้ในโถที่ทำด้วย[[หินเนื้อดอก]] (อันเป็นของขวัญที่รัสเซียมอบให้แก่ฝรั่งเศส)
 
== มุมมองร่วมสมัยที่มีต่อนโปเลียน ==
เส้น 230 ⟶ 231:
=== การสมรสและโอรสธิดา ===
นโปเลียนสมรสสองครั้ง :
* เมื่อวันที่ [[9 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2339]] (ค.ศ. 1796) (เมื่อครั้งยังเป็นนายพลก่อนออกปฏิบัติการในอียิปต์) ได้เข้าพิธีสมรสกับนาง[[โฌเซฟีน เดอ โบอาร์แน]] แม่ม่ายลูกติดชาวฝรั่งเศสเชื้อสายเบเก จาก[[หมู่เกาะมาร์ตีนีก]] ผู้ซึ่งต่อมาได้รับการแต่งตั้งให้เป็นจักรพรรดินีแห่งฝรั่งเศสในพิธีขึ้นครองราชย์ของนโปเลียน เนื่องจากนางมีอายุมากแล้วจึงไม่สามารถมีโอรสธิดาให้กับนโปเลียนได้ ซึ่งการที่องค์จักรพรรดิไร้ซึ่งผู้สืบทอดบัลลังก์ดังกล่าวถูกมองว่าเกี่ยวข้องโดยตรงกับความมั่นคงของจักรวรรดิ การสมรสครั้งนี้จึงจบลงด้วยการหย่าร้าง
* เมื่อวันที่ [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2353]] (ค.ศ. 1810) ได้เข้าพิธีอภิเษกสมรส ([[แต่งงานโดยฉันทะ|โดยฉันทะ]]) กับ[[มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา|อาร์คดัชเชสมารี หลุยส์แห่งออสเตรีย]] เพื่อเป็นการสานสัมพันธไมตรีและหลีกเลี่ยงสงครามกับ [[มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา|อาร์คดัชเชสมารี หลุยส์]]ได้ให้กำเนิดพระราชโอรสหนึ่งพระองค์ ได้แก่ [[นโปเลียน ฟร็องซัวส์ โฌแซฟ ชาร์ล โบนาปาร์ต|นโปเลียนที่ 2]] (ประสูติ [[20 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2354]] สิ้นพระชนม์ [[22 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2375]]) ทรงได้รับการแต่งตั้งจากนโปเลียนให้ดำรงตำแหน่งกษัตริย์แห่งกรุง[[โรม]] ดยุกแห่ง[[ไรช์ชตาดท์]] แต่เรามักจะเรียกพระองค์ว่านโปเลียนที่ 2 เสียมากกว่า แม้ว่าพระองค์จะไม่เคยขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศสอย่างแท้จริงเลยก็ตาม ถ้าจะว่ากันตามทฤษฎีแล้ว รัชสมัยของพระองค์กินระยะเวลาเพียง 15 วัน ระหว่างวันที่จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ถูกบังคับให้สละพระราชบัลลังก์ครั้งแรก จนกระทั่งมี[[การฟื้นฟูราชวงศ์บูร์บงในปี พ.ศ. 2357บูร์บง]] พระฉายานามว่า ''เหยี่ยวน้อย'' นั้นมาจากบทกวีของ[[วิคเตอร์ มารี อูโก]] ที่ประพันธ์ขึ้นในปี [[พ.ศ. 2395]] (ค.ศ. 1852)
 
นโปเลียนยังมีบุตรนอกสมรสอีกอย่างน้อยสองคน ซึ่งทั้งสองคนนั้นต่างก็มีทายาทสืบต่อมา:
* เคานต์[[ชาร์ล เลอง]] (ชาตะ [[ค.ศ. 1806]] มรณะ [[ค.ศ. 1881]]) บุตรชายของนาง[[แคทเทอรีน เอเลนอร์ เดอนูเอลล์ เดอ ลา เปลจเนอ]] (ชาตะ [[ค.ศ. 1787]] มรณะ [[ค.ศ. 1868]])
* เคานต์[[ฟลอเรียน โจเซฟ โคโลนนา วาลูวสกา]] (ชาตะ [[4 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1810]] มรณะ [[27 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1868]]) บุตรชายของเค้าน์เตส[[มารี วาลูวสกา]] (ชาตะ [[ค.ศ. 1789]] มรณะ [[ค.ศ. 1817]])
 
และจากแหล่งข้อมูลที่ยังเป็นที่ถกเถียงกัน:
เส้น 241 ⟶ 242:
* คาร์ล ยูจัง ฟอน มูห์ลเฟลด์ บุตรชายของวิคตอเรีย โครส์
* เอเลน นโปเลโอน โบนาปาร์ต บุตรสาวของเค้าน์เตสมองโตลอง
* [[จูลส์ บาร์เธเลมี-ซังต์-ติแลร์]] (ชาตะ [[19 สิงหาคม]] [[ค.ศ. 1805]] มรณะ [[ 24 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1895]]) โดยไม่ทราบว่ามารดาของเขาเป็นใคร
 
=== พี่น้องของนโปเลียน ===
เส้น 253 ⟶ 254:
 
=== หลานชาย-หญิง ===
* [[นโปเลียนที่ 3]] (ชารลส์ หลุยส์ นโปเลอองนโปเลียน โบนาปาร์ต) หลานชาย ได้ใช้โอกาสจากความมีชื่อเสียงของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทำให้เขาได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีแห่งฝรั่งเศส ในช่วง[[สาธารณรัฐที่ 2]] จากนั้นก็ได้ยึดอำนาจและก่อตั้ง[[จักรวรรดิที่ 2]] ขึ้น และเป็นจักรพรรดิปกครองฝรั่งเศสภายใต้พระนามว่า'''พระเจ้านโปเลียนที่ 3 แห่งฝรั่งเศส''' ตลอดการครองราชย์ของพระองค์ ได้มีการประกาศใช้กฎหมายทางสังคมและกฎหมายสมัยใหม่จำนวนมาก พระองค์พ่ายแพ้สงครามและยอมมอบตัวให้กับ[[ปรัสเซีย]]ในปี [[พ.ศ. 2413]] (ค.ศ. 1870) จากการรบที่[[สมรภูมิเซดาน]]
* [[ปิแอร์ปีแยร์-นโปเลอองนโปเลียน โบนาปาร์ต]]
* [[ชาร์ล ลือเซียงลูว์เซียง โบนาปาร์ต]] [[นักสัตววิทยา]]
 
=== เชื้อสายของนโปเลียนที่โด่งดัง ===
เส้น 317 ⟶ 318:
| สี3 = #FFCC33
| รูปภาพ = Grandes Armes Impériales (1804-1815)2.svg
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส|จักรพรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส]]</br>ครั้งที่หนึ่ง
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = สาธารณรัฐที่ 1<br><small>ลำดับก่อนหน้าโดย</small><br>[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 16]]<br><small>ในฐานะพระมหากษัตริย์</small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]]<br><small>ในฐานะพระมหากษัตริย์</small>
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[18 พฤษภาคม]] [[พ.ศ.1804 2347]] - [[11 เมษายน]] [[พ.ศ. 2357]]1814
}}
{{สืบตำแหน่ง
เส้น 330 ⟶ 331:
| สี3 = #FFCC33
| รูปภาพ = Grandes Armes Impériales (1804-1815)2.svg
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส|จักรพรรดิแห่งชาวฝรั่งเศส]]</br>ครั้งที่สอง([[สมัยร้อยวัน]])
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]]<br><small>ในฐานะพระมหากษัตริย์</small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[นโปเลียนที่ 2]]<br><small>ไม่เสวยราชย์</small><br>[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 18 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 18]]<br><small>ในฐานะพระมหากษัตริย์</small>
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[20 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2358]] - [[22 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2358]] 1815
}}
{{สืบตำแหน่ง
เส้น 343 ⟶ 344:
| สี3 = #FFCC33
| รูปภาพ = Coat of arms of the Kingdom of Italy (1805-1814), round shield version.svg
| ตำแหน่ง = [[พระมหากษัตริย์อิตาลี|พระมหากษัตริย์แห่งอิตาลี]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|พระเจ้าจักรพรรดิคาร์ลที่ 5]]<br><small>ภายใต้[[จักรวรรดิ แห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]</small>
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[สมเด็จพระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2 แห่งอิตาลี|พระเจ้าวิคเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 2]]<br><small>[[ราชอาณาจักรอิตาลี|ราชอาณาจักรอิตาลียุคใหม่]]</small>
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[17 มีนาคม]] [[พ.ศ.1805 2348]] - [[11 เมษายน]] [[พ.ศ. 2357]] 1814
}}
{{จบกล่อง}}