ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความสัมพันธ์ไทย–พม่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shoshui (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
=== สมัยอยุธยา ===
{{บทความหลัก|อาณาจักรอยุธยา}}
สมัยอยุธยาการความสัมพันธ์เต็มไปด้วยความขัดแย้งจากสงครามนับแต่ครั้งอดีต โดยทั้งไทยและพม่าต่างชิงความเป็นใหญ่ในภูมิภาคเพื่อขยายอำนาจทางการเมือง การปกครอง และเป็นการควบคุมจุดยุธศาสตร์ทางการค้าภายในแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การสงครามระหว่างไทยและพม่ามีสาเหตุสำคัญมาจากการที่หลังพม่าได้เป็นใหญ่เหนือดินแดนมอญและไทยใหญ่ไทใหญ่แล้ว ก็พยายามขยายอำนาจเข้ามายังอาณาจักรอยุธยา โดยเดินทัพผ่านดินแดนมอญทางด้านตะวันตกหรือผ่านลงมาทางล้านนาทางด้านเหนือ การที่พม่ายกทัพมารบกับอยุธยาหลายครั้งแสดงให้เห็นถึงความต้องการเป็นใหญ่ในดินแดนแถบนี้ และพม่าต้องการสร้างความเป็นเอกภาพในดินแดนพม่าโดยการรวบรวมชนกลุ่มน้อยให้เป็นหนึ่งอันเดียวกัน แต่อุปสรรคสำคัญของพม่าคืออาณาจักรอยุธยาซึ่งมักสนับสนุนชนกลุ่มน้อยให้ต่อต้านอำนาจของพม่าเสมอ การยึดครองอยุธยาจึงเป็นส่วนสำคัญในการสร้างความเป็นเอกภาพของพม่าด้วย ซึ่งในไปสู้การสูญเสียเอกราชของอยุธยา 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2112 และปี พ.ศ. 2310 ซึ่งอยุธยาก็สามารถกอบกู้อิสรภาพได้ทั้งสองครั้ง
 
=== สมัยธนบุรี ===
บรรทัด 14:
[[ไฟล์:Bhumibol Adulyadej and U Win Maung (04.03.1960).jpg|thumb|[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]เสด็จฯเยือนประเทศพม่าและทรงนมัสการ[[เจดีย์ชเวดากอง]] โดยมีประธานาธิบดี[[วิน หม่อง]]รับเสด็จ]]
==== สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ====
อยู่ในลักษณะทำสงครามสู้รบกัน โดยไทยทำสงครามกับพม่ารวมทั้งสิ้น 10 ครั้ง สงครามครั้งที่มีความสำคัญที่สุด คือ [[สงครามเก้าทัพ]] ใน พ.ศ. 2328 แต่เมื่อพม่าเผชิญหน้ากับการคุกคามของลัทธิ[[จักรวรรดินิยม]]ตะวันตก คือ อังกฤษ ในเวลาต่อมาก็ไม่ได้ยกทัพมาสู้รบกับไทยอีก
 
==== สมัยใหม่ ====
บรรทัด 23:
วันที่ 2-5 มีนาคม พ.ศ. 2503 [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] และ [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] เสด็จพระราชดำเนินเยือน[[สหภาพพม่า]] เพิ่มพูนสัมพันธไมตรีกับพม่า การเสด็จเยือนครั้งดังกล่าวทำให้ความสัมพันธ์ไทยกับพม่าดีขึ้นอย่างมาก
 
# พ.ศ. 2553 วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 ทหารพม่ารบกับกะเหรี่ยงดีเคบีเอโดยได้มีระเบิดจากพม่าตกที่จังหวัดตาก 2 สูง ส่งผลให้คนไทยบาดเจ็บ 8 ราย
 
# พ.ศ. 2554 วันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554 ทหารหน่วยเฉพาะกิจกรมทหารราบที่ 4 อ.แม่สอด จ.ตาก ได้ปิดเส้นทางถนนบ้านห้วยน้ำนัก , บ้านห้วยแห้ง ต.ช่องแคบ อ.พบพระ ไปยังบ้านช่องแคบ เนื่องจากการสู้รบระหว่างทหารรัฐบาลพม่ากับฝ่ายกะเหรี่ยงดีเคบีเอและกองกำลังสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง เคเอ็นยูเกิดขึ้นบริเวณตรงข้ามบ้านห้วยน้ำนัก และก่อนหน้านี้มีลูกกระสุนปืนล้ำเข้ามาตกในเขตไทย
# พ.ศ. 2555 วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ถึง 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 พลตรีนะคะมวย ผู้บัญชาการทหารกองกำลังติดอาวุธชาวกะเหรี่ยงกองพลน้อยโกะทูบลอ สั่งทหารปิดช่องทางเข้าออกตามแนวชายแดนไทย-พม่า เพื่อตอบโต้ทางการไทยที่ขึ้นบัญชีดำเป็นพ่อค้ายาเสพติด และตอบโต้ที่ถูก ร.ต.อ.[[เฉลิม อยู่บำรุง]] รองนายกรัฐมนตรี ประกาศว่าเป็นหนึ่งใน 25 คนที่มีหมายจับคดีค้ายาเสพติดมีค่าหัว 1 ล้านบาท
 
# พ.ศ. 2555 วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ถึง 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 พลตรีนะคะมวย ผู้บัญชาการทหารกองกำลังติดอาวุธชาวกะเหรี่ยงกองพลน้อยโกะทูบลอ สั่งทหารปิดช่องทางเข้าออกตามแนวชายแดนไทย-พม่า เพื่อตอบโต้ทางการไทยที่ขึ้นบัญชีดำเป็นพ่อค้ายาเสพติด และตอบโต้ที่ถูก ร.ต.อ.[[เฉลิม อยู่บำรุง]] รองนายกรัฐมนตรี ประกาศว่าเป็นหนึ่งใน 25 คนที่มีหมายจับคดีค้ายาเสพติดมีค่าหัว 1 ล้านบาท
 
== ความร่วมมือในด้านต่าง ๆ ==
===ด้านการค้า===
ในปี พ.ศ. 2558 การค้ารวมคิดเป็นมูลค่า 261,975.12 ล้านบาท (ลดลงร้อยละ 0.6 จากปี พ.ศ. 2557) ไทยส่งออก 140,789.55 ล้านบาท (เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.32) นำเข้า 121,185 ล้านบาท (ลดลงร้อยละ 4.79 เนื่องจากมูลค่าการนำก๊าซธรรมชาติจากเมียนมาร์พม่าเข้าประเทศไทยลดลงจากการลดลงของราคาเชื้อเพลิงธรรมชาติในตลาดโลก) ได้ดุลการค้า 19,603.97 ล้านบาท เป็นการค้าชายแดนมูลค่า 214,694.38 ล้านบาท หรือร้อยละ 81.95 ของมูลค่าการค้ารวม
 
===ด้านการลงทุน===
ไทยมีการลงทุนสะสมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2532 – มกราคม พ.ศ. 2559 มูลค่า 114,804.37 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.54 ของการลงทุนจากต่างชาติ เป็นอันดับ 6 รองจาก[[จีน]] [[สิงคโปร์]] [[ฮ่องกง]] [[สหราชอาณาจักร]] และ[[เกาหลีใต้]] สาขาการลงทุนที่สำคัญ ได้แก่ พลังงาน การผลิต ประมง และปศุสัตว์ ผู้ลงทุนรายใหญ่ อาทิ ปตท.สผ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทย (กฟผ.) อิตาเลียนไทย ซีพี และเครือซิเมนต์ไทย ทั้งนี้ รัฐบาลไทยส่งเสริมการลงทุนและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชนไทยในเมียนมาร์พม่าอย่างมีความรับผิดชอบ
 
==แหล่งข้อมูลอื่น==
*[http://www.thaibizmyanmar.com/th/thai-myanmar/ ศูนย์ข้อมูลธุรกิจไทยในพม่า]
 
== อ้างอิง ==
[[หมวดหมู่:ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ]]
 
{{โครงการเมือง}}
{{โครงประวัติศาสตร์}}