ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เครื่องบินสกัดกั้น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Cobatfor (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 23:
 
[[ไฟล์:KampfflugzeugF-8China.jpg|thumb|right|[[เช็งยาง เจ-8]]]]
[[ไฟล์:F-8J TUCrusader of VF-194 escorting a Soviet Tu-95 CVover USS Oriskany (CVA-34) on 25 May 1974.JPEGjpg|thumb|right|[[เอฟ-8 ครูเซเดอร์]]เข้าสกัดกั้น[[ตูโปเลฟ ตู-95]]]]
 
ใน[[สงครามเย็น]]เครื่องบินทิ้งระเบิดถูกคาดว่าจะเข้าโจมตีด้วยความสูงและความเร็วเหนือเสียง สิ่งนี้ทำให้การออกแบบเครื่องบินขับไล่เน้นไปที่การเร่งความเร็วและเพดานบินอย่างการผสมเครื่องยนต์จรวดเข้ากับเครื่องยนต์ไอพ่น แม้ว่าพวกมันจะไม่ได้ใช้งานก็ตาม การพัฒนาของเครื่องยนต์ไอพ่นทำให้จรวดหมดประโยชน์ไป และการออกแบบรุ่นใหม่ก็เป็นเครื่องยนต์ไอพ่นล้วนๆ รวมทั้ง[[มิโคยัน-กูเรวิชค์ มิก-21|มิก-21]] [[อิงลิช อิเลคทริก ไลท์นิ่ง]] และ[[เอฟ-104 สตาร์ไฟเตอร์]] เครื่องบินชนิดนี้ทำให้เครื่องบินชนืดอื่นๆ เริ่มลดบทบาทมารวมกันเป็นเครื่องบินที่มีหลากบทบาทแทนและนั้นทำให้ไม่จำเป็นที่จะต้องมีเครื่องบินเฉพาะทางอีกต่อไป