ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เฟลด์สปาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| color = ชมพู ขาว เทา น้ำตาล
| habit =
| system = [[โมโนคลินิก]] หรือ [[ไตรคลินิก]]
| twinning =
| cleavage = 2 หรือ 3
บรรทัด 38:
}}
 
'''เฟลด์สปาร์''' หรือ '''แร่ฟันม้า''' ({{lang-en|feldspar}}) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญในเนื้อ[[เซรามิกส์เซรามิก]] (ร้อยละ 15.35 %) และในน้ำยาเคลือบผิว (GlazeGlaze 30-50%) เฟลด์สปาร์เป็นแร่ที่มีปริมาณธาตุ[[อัลคาไลด์]]สูง ทำให้หลอมตัวที่อุณหภูมิต่ำจึงทำหน้าที่เป็น Flux ฟลักซ์ทำให้เกิดเนื้อแก้วยึดเหนี่ยวเนื้อ ทำให้เกิดความแกร่งและความโปร่งใสของชิ้นงาน นอกจากนี้ ยังหาได้ง่ายในธรรมชาติ มีธาตุ[[เหล็ก]]ต่ำ จึงเป็นที่นิยมใช้
 
แร่เฟลด์สปาร์ที่เกิดในธรรมชาติมีอยู่ 3 ชนิด คือ
 
# โปแตซเซียม โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ KAl Si3O8 (Potash Feldspar-Orthoclase-Microline)
# โซเดียม เฟลด์สปาร์ Na AlSi3O8 (Sodium Feldspar - Albite)
# แคลเซียม เฟลด์สปาร์ Ca Al2 Si2O8 (Calcium Feldspar - Anorthite)
 
== แหล่งแร่เฟลด์สปาร์ ==
แร่เฟลด์สปาร์ พบอยู่ใน[[หินอัคนี]]เกือบทุกชนิด และพบใน[[หินชั้น]]และ[[หินแปร]]ด้วย แต่แหล่งแร่เฟลด์สปาร์ที่เป็นอุตสาหกรรมนั้น ได้มาจากสายแร่[[เพกมาไทต์]] (Pegmatite) หรือสายคา ซึ่งจะมีแร่เฟลด์สปาร์เกิดร่วมกับ[[ควอตซ์]] [[ไมกา]] [[การ์เนต]] [[ทัวร์มาลีน]] เป็นต้น สายแร่เปกมาไทต์ ที่ตัดเข้าไปใน[[หินแกรนิต]] มักให้แร่เฟลด์สปาร์พวกโซเดียมและโปแตซเซียมโพแทสเซียม ซึ่งปริมาณของทั้งสองตัวนี้ก็แตกต่างกันไม่แน่นอน บางแหล่งจะมีโปแตซเซียมเฟลด์สปาร์มาก บางแหล่งก็มีโซเดียมเฟลด์สปาร์มาก เฟลด์สปาร์ที่ซื้อขายกันในประเทศสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆใหญ่ ๆ คือ
 
# โปแตชเซียม โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ มีปริมาณ K2O อยู่ไม่น้อยกว่า 8 %
# โซเดียม เฟลด์สปาร์ มีปริมาณ Na2O ไม่น้อยกว่า 7 %
# เฟลด์สปาร์ผสม มีปริมาณ K2O < 8 %, Na2O < 7 %
 
โดยทั่วๆไปทั่วไป โปแตชเซียมเฟลด์สปาร์ จะมีความต้องการโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์เซรามิกมากกว่า โซเดียมเฟลด์สปาร์ ทั้งนี้เพราะ โปแตชเซียมโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์เมื่อหลอมแล้วได้ความหนืดสูงกว่าและเปลี่ยนแปลงลดลงเล็กน้อย เมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น จึงเป็นผลให้รูปทรงของชิ้นงานอยู่ตัวไม่บิดเบี้ยวในช่วงการเผา โดยเฉพาะผลิตภัณฑ์[[ลูกถ้วยไฟฟ้า]] จำเป็นต้องใช้โปแตชเซียมโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์เกรดสูง เพราะต้องการคุณสมบัติความเป็น[[ฉนวนไฟฟ้า]] (โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์มี[[ความนำไฟฟ้า]]ต่ำ)
เพราะต้องการคุณสมบัติความเป็น[[ฉนวนไฟฟ้า]] (โปแตชเซียมเฟลด์สปาร์ มี[[ความนำไฟฟ้า]]ต่ำ)
 
== การทำเหมือง ==
การทำเหมืองแร่เฟลด์สปาร์ จากสายแร่[[เพกมาไทต์]] ที่ [[จังหวัดตาก]], [[ราชบุรี]], [[กาญจนบุรี]] และ[[นครศรีธรรมราช]] การทำเหมืองมักจะเป็น[[เหมืองเปิด]] โดยการระเบิดย่อยให้ได้ขนาดเล็กลงด้วยค้อน แล้วใช้วิธีคัดด้วยมือ เพื่อแยกเฟลด์สปาร์ออกจากแร่ควอตซ์, [[ไมกา]] และสาร[[เหล็กออกไซด์]] วิธีการทำเหมืองแบบนี้ ต้นทุนจะต่ำแต่การสูญเสียแร่ค่อนข้างสูงสำหรับการทำเหมืองแร่[[โซเดียมเซียเฟลด์สปาร์]]
วิธีการทำเหมืองดังกล่าวนับว่าใช้ได้ เพราะโซเดียมเซียมเฟลด์สปาร์โดยทั่วไปมักเกิดเป็นก้อนใหญ่ที่ค่อนข้างบริสุทธิ์ ไม่มีแร่อื่นปนมากนักสำหรับการทำเหมืองแร่โปแตชเซียมเฟลด์สปาร์โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ น่าจะใช้วิธีวิธีการลอยแร่ควบคู่กันไปด้วย เพื่อเก็บแร่ให้หมด โดยแยกเฟลด์สปาร์ออกจากแร่อื่น ทำให้คุณภาพสูงขึ้นและคุ้มทุน เพราะราคาสูง ปัจจุบันมีการลอยแร่โพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ที่[[เหมืองตะโกปิดทอง]] [[อำเภอสวนผึ้ง]] [[จังหวัดราชบุรี]] และที่[[จังหวัดตาก]]
การลอยแร่ ควบคู่กันไปด้วย เพื่อเก็บแร่ให้หมด โดยแยกเฟลด์สปาร์ออกจากแร่อื่น ทำให้คุณภาพสูงขึ้น และคุ้มทุน เพราะราคาสูง ปัจจุบันมีการลอยแร่โปแตชเซียมเฟลด์สปาร์
ที่ [[เหมืองตะโกปิดทอง]] [[อำเภอสวนผึ้ง]] [[จังหวัดราชบุรี]] และที่[[จังหวัดตาก]]
 
-Bone Ash เป็น Flux ฟลักซ์ที่สำคัญสำหรับ Bone China ได้จากการนำกระดูกวัวควายมาทำ Calcining แล้วบด ถ้าขบวนการ Calcining ถูกต้องจะได้พวกอินทรียวัตถุที่แขวนลอยอยู่เพียงเล็กน้อย ซึ่งจะเพิ่มคุณสมบัติของการใช้งาน องค์ประกอบหลักคือ แคลเซียมฟอสเฟต3CaO.P2O5
 
-Fluorite - (CaF2) เป็นFluxฟลักซ์ที่ใช้กับ Enamels, แก้วและน้ำยาเคลือบผิวแร่ฟลูออไรด์มีมากในประเทศไทย
 
'''วัสดุอื่นๆอื่น ๆ ที่ใช้แทนเฟลด์สปาร์'''
หิน Nepheline Syenite เป็นหินอัคนีที่ประกอบด้วยแร่ Albite 50ร้อยละ %50, Microcline 25ร้อยละ %25, Nepheline (Na2Al2Si2O8) 25ร้อยละ %25 มีอลูมินาอะลูมินาและโซดามากกว่าเฟลด์สปาร์ พบที่รัฐ Ontarioออนแทรีโอ ประเทศคานาดาแคนาดา โดยหินนี้จะถูกบดและแยกเอาแร่ที่มีเหล็กออกด้วยเครื่องแยกแร่แม่เหล็ก ประเทศเราไทยยังไม่พบหินชนิดนี้
 
หิน Graphic Granite เป็นหินอัคนีบาดาลที่มีแร่เฟลด์สปาร์ร้อยละ 75 % และควอร์ตควอตซ์ร้อยละ 25 % Intergrowth อาจใช้แทนเฟลด์สปาร์ ได้ถ้ามีปริมาณมาก ประเทศเราไทยยัง
พบไม่มาก
 
Cornish Stone เป็นหินที่ใช้เป็น Flux ฟลักซ์ในประเทศอังกฤษ คือหินเปกมาไทต์ที่ผุเล็กน้อย ประกอบด้วยแร่ Albite, Orthoclase, แร่เกาลิน และ Fluorides ฟลูออไรด์เล็กน้อย
ได้มีการทำเหมือง และบางเกรดมีการแยก Fluorides ฟลูออไรด์ออกมาด้วย
 
หิน Leucocratic Granite คือ หินแกรนิตสีขาว เนื่องจากมีแร่สีดำน้อย ประกอบด้วยแร่ควอร์ตควอตซ์ร้อยละ 20 %, โซเดียมเฟลด์สปาร์ร้อยละ 50, % โปแตชโพแทสเซียมเฟลด์สปาร์ ร้อยละ 30 % ใช้แทนเฟลด์สปาร์ ได้ พบที่ต.ตำบลนบพิตำ อ.ท่าศาลาอำเภอนบพิตำ จ.จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลิต Leucocratic Granite ปีละประมาณ 150,000 ตัน ส่งไปขายประเทศจำหน่ายยังไต้หวัน และ มาเลย์เซียมาเลเซีย<ref>รศ.ดร.วิสุทธ์ พิสุทธอานนท์ ภาควิชาธรณีวิทยาศาสตร์,คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</ref>
 
== อ้างอิง ==
เส้น 82 ⟶ 79:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Feldspar|เฟลด์สปาร์}}
 
[[หมวดหมู่:หิน]]