ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรีสซี คาเฟ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Zzaii (คุย | ส่วนร่วม)
รวบรวมข้อมูลจากศิลปินโดยตรง
Zzaii (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{รวม|อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร}}
{{ต้องการอ้างอิง}}{{กล่องข้อมูล นักดนตรี|ชื่อ=กรีสซี คาเฟ่|ประเภท=วงดนตรี|ภาพ=ApichaiTGreasyCafe.jpg ‎|คำบรรยายภาพ=|ขนาดภาพ=|ภาพแนวนอน=|ชื่อจริง=|ชื่อเล่น=|ฉายา=|วันเกิด=|วันที่เสียชีวิต=|แหล่งกำเนิด=[[กรุงเทพฯ]], [[ไทย]]|เครื่องดนตรี=|แนวเพลง=[[ออลเทอร์นาทิฟร็อก]] [[บริท ป็อป]] [[โพสท์ ร็อก]]|อาชีพ=|ช่วงปี=พ.ศ. 2542-ปัจจุบัน|ค่าย=[[Smallroom]]|ส่วนเกี่ยวข้อง=|เว็บ=[http://www.greasy-cafe.com/ Greasy-Cafe.com]|สมาชิก=|อดีตสมาชิก=}}'''กรีสซี่ คาเฟ่''' ([[ภาษาอังกฤษแบบบริติช|อังกฤษ]]: Greasy Cafe) หรือ [[อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร]] เป็นศิลปินและนักแต่งเพลงชายชาว[[ประเทศไทย|ไทย]]ภายใต้สังกัด [[สมอลล์รูม|Smallroom]] ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2542]] เขามีผลงานอัลบั้มเพลงมาแล้ว 3 ชุดคือ สิ่งเหล่านี้ [[พ.ศ. 2551]] ทิศทาง [[พ.ศ. 2552|พ.ศ.2552]] และ The Journey without Maps พ.ศ. 2555 อภิชัยมีคอนเสิร์ตใหญ่ของตัวเองมาแล้ว 2 ครั้งคือ Greasy Cafe: Untill Tomorrow ที่สนามกีฬาจรัญ บุรพรัตน์ [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] และ  Greasy Cafe: Untill Tomorrow Home ที่เขากะโหลก [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์|จังหวัดประจวบคิรีขันธ์]][[ไฟล์:GreasyCafe, ชมรมวิจารณ์บันเทิง.jpeg|thumbnail|right|รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง]]
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''กรีสซี่ คาเฟ่''' ([[ภาษาอังกฤษแบบบริติช|อังกฤษ]]: Greasy Cafe) หรือ [[อภิชัย ตระกูลเผด็จไกร]] เป็นศิลปินและนักแต่งเพลงชายชาว[[ประเทศไทย|ไทย]]ภายใต้สังกัด [[สมอลล์รูม|Smallroom]] ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2542]] เขามีผลงานอัลบั้มเพลงมาแล้ว 3 ชุดคือ สิ่งเหล่านี้ [[พ.ศ. 2551]] ทิศทาง [[พ.ศ. 2552|พ.ศ.2552]] และ The Journey without Maps พ.ศ. 2555 อภิชัยมีคอนเสิร์ตใหญ่ของตัวเองมาแล้ว 2 ครั้งคือ Greasy Cafe: Untill Tomorrow ที่สนามกีฬาจรัญ บุรพรัตน์ [[กรุงเทพมหานคร|กรุงเทพฯ]] และ  Greasy Cafe: Untill Tomorrow Home ที่เขากะโหลก [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์|จังหวัดประจวบคิรีขันธ์]][[ไฟล์:GreasyCafe, ชมรมวิจารณ์บันเทิง.jpeg|thumbnail|right|รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง]]
 
== ประวัติ ==
เส้น 12 ⟶ 11:
 
== ชีวิตวัยเด็ก ==
[[ไฟล์:GreasyCafe, Melody of life2013.jpg|thumbnail|right|งาน Melody of Life ปี 2013]]อภิชัยเกิดที่ย่านเมืองเก่าของกรุงเทพฯ ในครอบครัวเย็บหมวกกีฬาที่มีพ่อและแม่เป็นชาวจีนแท้ๆ เขาใช้ชีวิตวัยเด็กในย่านวรจักร เรียนชั้นประถมศึกษากับโรงเรียนประสาทวุฒิ ซึ่งเป็นโรงเรียนภาษาไทยและจีน เรียนต่อมัธยมศึกษาที่โรงเรียนศิริวัฒนาและโรงเรียนเพชรรัตน์ เขาจบศึกการศึกษาระดับปวช. ที่โรงเรียนไทวิจิตรศิลป์ อภิชัยเดินทางไปเรียนด้านการถ่ายภาพที่ประเทศอังกฤษตอนอายุ 21 ปี และใช้ชีวิตอยู่ที่นั่นเป็นเวลาร่วม 4 ปี
 
ช่วงเวลาที่เรียนในอังกฤษ อภิชัยได้มีโอกาสเริ่มเล่นดนตรีอย่างจริงจัง ได้รวมวงกับเพื่อนในชื่อ The Light ตระเวนเล่นตามผับขนาดเล็ก วงดนตรีของเขาทำงานได้ไม่นานนักและแยกย้ายไป เขากลับเมืองไทยและทำงานเป็นช่างภาพนิตยสาร เริ่มจากการถ่ายภาพแฟชั่นให้กับนิตยสาร Hyper ก่อนจะหลงใหลในการถ่ายภาพแนวสารคดี งานถ่ายภาพนิตยสารยังทำให้เขารู้จักคนมากขึ้น วันหนึ่งเขามีโอกาสถ่ายภาพวงดนตรีชื่อ [[Crub (วงดนตรี)|Crub]] และได้ทำความรู้จัก รุ่งโรจน์ อุปถัมภ์โพธิวัฒน์ หนึ่งในสมาชิกวงซึ่งกลายมาเป็นเจ้าของค่ายเพลง [[สมอลล์รูม|Smallroom]] ในปัจจุบัน
เส้น 52 ⟶ 51:
 
=== The Journey without Maps (พ.ศ.2555) ===
[[ไฟล์:GreasyCafe, Melody of life2013.jpg|thumbnail|right|งาน Melody of Life ปี 2013]][[ไฟล์:GreasyCafe, ชมรมวิจารณ์บันเทิง.jpeg|thumbnail|right|รางวัลนักแสดงนำชายยอดเยี่ยม รางวัลภาพยนตร์ไทย ชมรมวิจารณ์บันเทิง]]หลังจบอัลบั้ม ทิศทาง อภิชัยประสบปัญหาทั้งเรื่องงานและชีวิตส่วนตัว แม้ผลตอบรับและเสียงวิจารณ์จากสองอัลบั้มแรกจะดีแต่รายได้ไม่สามารถเลี้ยงชีวิตในประจำวันได้ ปัจจัยรอบด้านทำให้เขารู้สึกกดดันจนไม่มีสมาธิในเขียนเพลงใหม่ อภิชัยตัดสินใจเปลี่ยนวิถีชีวิตด้วยการเดินทางไปใช้ชีวิตที่ประเทศอังกฤษ โดยที่ไม่กำหนดเวลาว่าจะอยู่นานแค่ไหน เขานำกีตาร์โปร่ง เครื่องบันทึกเสียง และแลปท็อปจากเมืองไทยมาด้วยเพราะหวังว่าจะได้นำมาใช้ทำเพลงระหว่างใช้ชีวิตที่ประเทศอังกฤษ
 
การได้อยู่ในสภาพแวดล้อมใหม่ๆ ทำให้อภิชัยได้แรงบันดาลใจและเริ่มต้นทำเพลงแม้จะมีเครื่องดนตรีติดตัวแค่ชิ้นเดียว เขานำอุปกรณ์ที่อยู่รอบตัวมาใช้เป็นเครื่องมือในการสร้างเสียง เช่น ใช้เสียงผิวปาก ใช้เสียงดนตรีจากแอพพลิเคชันทำเพลงใน [[ไอแพด|iPad]] ใช้อูคูเลเล่จากเพื่อนร่วมห้องและแอคคอร์เดียนเก่าซึ่งมีในห้องพักมาใช้ทำเพลง เขาตั้งชื่ออัลบั้มนี้ว่า  The Journey without Maps อภิชัยเคยเล่าว่า “เราไม่เคยเชื่อเลยว่า ในการเริ่มต้นคบใครบางคน เค้าเหล่านั้นจะเดินทางมาพร้อมกับแผนที่ในมือ เราไม่มีทางรู้ได้เลยว่า เราจะขึ้นทิศเหนือ ลงใต้ ไปทางซ้าย ขวา หรือเราจะไปกันได้ไกลแค่ไหน และปลายทางจะจบลงที่ใด้”
 
อัลบั้มนี้อภิชัยได้ทดลองทำอะไรใหม่หลายอย่าง เสียงจากเครื่องดนตรีบ้านๆ ที่ใช้ระหว่างทำเพลงที่อังกฤษถูกนำมาใช้จริงทั้งหมด มีเพลง ร่องน้ำตา ซึ่งอภิชัยได้ร้องร่วมกับศิลปินหญิง ญารินดา เป็นครั้งแรก เพลงนี้มิกซ์เสียงร้องของทั้งสองศิลปินในระดับความดังเท่ากัน เพราะเขาคิดว่าเพลงนี้พูดกับคนทั้งเพศจึงควรร้องพร้อมกัน อัลบั้มนี้มีนักดนตรีต่างวงอย่าง เอี่ยว-ปุรวิชญ์ ขาวลออ มือกลองวง [[เดอะริชแมนทอย|The Richman Toy]] เม้ง-ภัทรพล ทองสุขา มือกลองวง [[เดสก์ทอปเออร์เรอร์|Desktop Error]] มาช่วยอัดกลอง อัลบั้มนี้มีเพลงเด่นหลายเพลง เช่น เงาของฝน, หมุน, ประโยคบอกเล่า, ป่าสนในห้องหมายเลข 1, ร่องน้ำตา ฯลฯ การได้อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างและได้เห็นชีวิตคนที่หลากหลายทำให้เนื้อเพลงของ Greasy Cafe หลุดพ้นจากการจมปลักกับความหม่นเศร้าและความเปลี่ยนแปลง เนื้อเพลงอัลบั้มนี้ส่วนใหญ่พูดถึงการเดินทาง ความสัมพันธ์ที่คลี่คลาย และการกล้าเผชิญหน้ากับความเปลี่ยนแปลง
 
The Journey without Maps คืออัลบั้มที่ทำให้ภาพของ Greasy Cafe ค่อนข้างชัดเจน ของ Greasy Cafe ทั้งในแง่ยอดขายและคำวิจารณ์ เขาได้รับรางวัลทางดนตรีจากหลายสถาบัน เช่น อัลบั้มยอดเยี่ยมประจำปีพ.ศ.2555 [[แชนแนลวีไทยแลนด์|Channel [V] Thailand]] เมโลสโมสร ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม [[คมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 10]] เพลงยอดเยี่ยม (เงาของฝน) [[สีสันอะวอร์ดส์|สีสันอวอร์ด]]ครั้งที่ 25  มิวสิควีดีโอจากเพลงในอัลบั้มนี้ยังโดดเด่นไม่แพ้อัลบั้มอื่น โดยเฉพาะเพลง เงาของฝน ฝีมือของผู้กำกับ [[หัวกลม]] และเพลง หมุน โดย [[นวพล ธำรงรัตนฤทธิ์]] อีกเพลงในอัลบั้มที่ได้รับความนิยมมากคือ ร่องน้ำตา นอกจากจะเป็นเพลงฮิตยังได้รับการเลือกให้เป็นเพลงประกอบซีรี่ส์ [[ฮอร์โมนส์ วัยว้าวุ่น|HORMONES]] 3 THE FINAL SEASON ของค่ายหนัง [[จีดีเอช ห้าห้าเก้า|GDH]]
 
=== อัลบั้มที่สี่ (พ.ศ.2555-ปัจจุบัน) ===
[[พ.ศ. 2560|พ.ศ.2560]] อภิชัยให้สัมภาษณ์ว่ากำลังเตรียมตัวออกอัลบั้มใหม่อีกครั้ง
 
=== ผลงานเพลงอื่นๆ ===
เส้น 95 ⟶ 94:
* EP ฝืน (พ.ศ. 2554)
* EP The Journey without Maps Teaser (พ.ศ. 2555)
* เพลง ช่อมะกอก feat. น.ส. เอ้บ ศุขสลุง [OST. [[ตั้งวง]]] (พ.ศ. 2556)
* เพลง เสมอ (พ.ศ. 2556)
* EP This is love (พ.ศ.2557)