ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระมหาอุปราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า มหาอุปราช ไปยัง พระมหาอุปราช
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''พระมหาอุปราช'''<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 887</ref> เป็นตำแหน่ง[[รัชทายาท]] พบในประเทศพม่า ล้านนา ลาว และสยาม
 
== พม่า ==
บรรทัด 7:
ในล้านนา มีตำแหน่ง '''อุปราช''' หรือ '''เจ้าหอน่า'''<ref name="ตำนาน1"/> ปรากฏใน[[พงศาวดารโยนก]]ว่า [[พญามังราย]]สถาปนาขุนครามพระราชโอรสขึ้นเป็นเจ้าชัยสงครามและพระราชทานเครื่องยศอย่างมหาอุปราชให้ไปครองเมือง[[เชียงราย]]<ref>''พงศาวดารโยนก'', หน้า 292</ref> การสถาปนาอุปราชยังมีสืบมา จนกระทั่งปี พ.ศ. 2318 (นับแบบปัจจุบัน) เมื่อล้านนามาสวามิภักดิ์ต่อ[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]จึงทรงตั้งนายก้อนแก้วเป็นพระยาอุปราชนครเชียงใหม่ นายน้อยต่อมต้อเป็นอุปราชลำพูน และเจ้าธรรมลังกาเป็นอุปราชนครลำปาง<ref>''พงศาวดารโยนก'', หน้า 420-421</ref> ถึงปี พ.ศ. 2399 [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]จึงทรงเปลี่ยนตำแหน่งเป็นพระยาอุปราชทั้งสามหัวเมืองนั้นเป็น'''เจ้าอุปราช'''มานับแต่นั้น<ref>''พงศาวดารโยนก'', หน้า 458</ref>
 
== ลาว ==
สมัย[[อาณาจักรล้านช้าง]] มี'''[[พระอุปยุวราช]]''' เป็นตำแหน่งรองจากพระมหากษัตริย์ แต่สูงกว่า[[อุปราช]]<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 1427</ref> และ[[ภาคอีสาน (ประเทศไทย)|ภาคอีสานของไทย]]สมัยต้นรัตนโกสินทร์มี'''อุปฮาด'''เป็นตำแหน่งรองจากเจ้าเมือง<ref>''พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554'', หน้า 1428</ref>
== สยาม ==
{{บทความหลัก|กรมพระราชวังบวรสถานมงคล}}
เส้น 22 ⟶ 25:
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา|ชื่อหนังสือ = ตำนานวังน่า |จังหวัด = พระนคร|พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร|ปี = 2462}} [พิมพ์แจกในงานศพนางสุ่น ชาติโอสถ ปีมะแม พ.ศ. 2462]
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา|ชื่อหนังสือ = ประชุมพระนิพนธ์ ภาค ๒ |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = คลังวิทยา|ปี = 2494|url = http://www.thapra.lib.su.ac.th/objects/rarebook/r543/AC159%E0%B8%94687.pdf| จำนวนหน้า = 359}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = | ชื่อหนังสือ = [[พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม)]] และเอกสารอื่น| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2553| ISBN = 978-616-7146-08-9| จำนวนหน้า = 800}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พระยาประชากิจกรจักร | ชื่อหนังสือ = [[พงศาวดารโยนก]]| จังหวัด = นนทบุรี| พิมพ์ที่ = ศรีปัญญา| ปี = 2557| ISBN = 978-616-7146-62-1| จำนวนหน้า = 496}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544}}
{{จบอ้างอิง}}