ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เหยี่ยว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
จากความที่เป็นนกล่าเหยื่อ และมีขนาดลำตัวที่ไม่ใหญ่นัก เหยี่ยวจึงถูก[[มนุษย์]]ใช้เลี้ยงเป็น[[สัตว์เลี้ยง]]มาแล้วนานกว่า 2,000 ปี<ref>[http://sfc-thai.clubme.net/t2-topic Siam Falconry club]</ref> เพื่อใช้ประโยชน์หลายอย่าง เช่น [[ล่าสัตว์]], เพื่อความเพลิดเพลิน หรือแม้แต่ใช้ในการไล่[[นก]]ชนิดอื่น ๆ ใน[[สนามบิน]]หรือชุมชน[[เมือง]]บางแห่ง<ref>{{cite web|url=http://archive.voicetv.co.th/content/5857|title= พญาเหยี่ยวแห่งคาซัคสถาน |work=[[วอยซ์ทีวี]]}}</ref> <ref>{{cite web|url=http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/35860.html|title= ประดิษฐ์เหยี่ยวหุ่นยนต์ไล่นกที่สนามบิน |work=[[สำนักข่าวไทย]]}}</ref>
 
ในความเชื่อของชาวเลตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ซึ่งเป็นชนชาติปฐมภูมิทางภาคใต้ของไทยตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เชื่อว่าเหยี่ยว เป็นวิญญาณบรรพบุรุษที่ช่วยนำทางไปสู่ปลา เป็นสัตว์ที่ช่วยในการจับปลา โดยพบเป็นหลักฐานภาพวาดบนผนัง[[#ถ้ำผีหัวโต#อุทยานแห่งชาติธารโบกขรณี|ถ้ำผีหัวโต]] ที่อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่ นอกจากนี้แล้วยังเชื่อด้วยว่าเหยี่ยวจะเป็นเครื่องนำทางวิญญาณของผู้เสียชีวิตไปสู่โลกหลังความตาย โดยมีเรือเป็นพาหนะ<ref>หน้า ๑๐๘-๑๐๙, ''"คนทะเล" สองพันห้าร้อยปีที่ถ้ำผีหัวโต''. "แลชมสมบัติศิลป์" โดย ภาคภูมิ น้อยวัฒน์. [[อนุสาร อ.ส.ท.]] ปีที่ ๕๗ ฉบับที่ ๘: มีนาคม ๒๕๖๐</ref>
 
==ดูเพิ่ม==