ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกกระจอกเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ah3kal (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 124.122.125.48 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Anonimeco
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = นกกระจอกเทศธัมมี่
| status = LC
| image = Struthio camelus kwh.jpg
บรรทัด 36:
 
ในประเทศ ปัจจุบันนิยมเลี้ยงเป็น[[สัตว์เศรษฐกิจ]]เหมือนในหลายประเทศ นกกระจอกเทศถูกนำเข้ามาในประเทศไทยครั้งแรกในปลาย[[อาณาจักรอยุธยา|สมัยอยุธยา]] ในรัชสมัย[[พระเจ้าเอกทัศ]] ตามบันทึกใน[[พงศาวดาร]][[คำให้การชาวกรุงเก่า]]ระบุว่า ราชทูต[[ชาวอังกฤษ]]นำนกกระจอกเทศพร้อมสิงโตและม้าเทศจากแอฟริกาเข้ามาถวายเป็นบรรณาการ จึงโปรดเกล้าฯ ให้เลี้ยงไว้ในพระราชวัง<ref>หน้า 151, ''คำให้การชาวกรุงเก่า'' โดย สำนักพิมพ์จดหมายเหตุ ([[พ.ศ. 2544]]) ISBN 974-87895-7-8</ref> <ref>[http://www.dld.go.th/service/ostrich/frist_os.html การเลี้ยงนกกระจอกเทศ:กรมปศุสัตว์]</ref>
 
==กายวิภาคศาสตร์ของนกกระจอกเทศ==
นกกระจอกเทศมีแผ่นอกที่ใหญ่ ซึ่งปิดบริเวณทรวงอกไว้เพื่อป้องกันหัวใจและตับ มันไม่มีกระดูกทรวงอก ดังนั้นจึงไม่มีตำแหน่งให้กล้ามเนื้อที่ใช้สำหรับยึดติด มีหัวใจ ปอด และตับอยู่ในช่องทรวงอก