ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
กสิณธร ราชโอรส (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
 
'''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)''' หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย ที่พระคลังสินค้าใน[[รัชกาลที่ 4]]
 
==ประวัติ==
 
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2334]] เดิมชื่อ ทัต เป็นบุตรคนที่สิบของ[[เจ้าพระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค)]] กับ[[เจ้าคุณพระราชพันธุ์นวล]] (คุณนวล น้องสาวของ [[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี]] พระอัครมเหสีใน [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก]]) และเป็นน้องชายของ[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์]] (ดิศ บุนนาค)
เส้น 23 ⟶ 25:
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ เริ่มรับราชการในรัชกาลที่ 1 ตำแหน่ง'''นายสนิทหุ้มแพรมหาดเล็ก''' ต่อมารัชกาลที่ 2 โปรดเกล้าฯ ให้เป็น'''จมื่นเด็กชา''' หัวหมื่นมหาดเล็กวังหน้า รับราชการใน[[กรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์]] และย้ายกลับมารับราชการตำแหน่งจางวางมหาดเล็ก หลังจากกรมพระราชวังบวรมหาเสนานุรักษ์สวรรคตในปี [[พ.ศ. 2360]] และได้เลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น '''พระยาศรีสุริยวงศ์''' ในเวลาต่อมา
 
[[ไฟล์:รูปหล่อ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัด บุนนาค).jpeg|left|150px|thumb|รูปหล่อ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัดบุนนาค) ณ วัดพิชยญาติการามวรวิหาร]]
ในรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้เป็น '''พระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษา''' ตำแหน่งจางวางพระคลังสินค้า ต่อมาในรัชกาลที่ 4 โปรดให้เรียกพระยาศรีพิพัฒน์รัตนราชโกษาว่า '''เจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' และโปรดเกล้าให้เป็น '''สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ''' ให้สำเร็จราชการทุกสิ่งในพระนคร รวมทั้งว่าที่พระคลังสินค้า คนทั่วไปนิยมเรียกท่านว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์น้อย" (เรียกสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ พี่ชายของท่านว่าว่า "สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่")
 
เส้น 31 ⟶ 32:
 
== บุตรธิดา ==
[[ไฟล์:Lanchakon - 028.jpg|thumb|ตราจันทรมณฑลใหญ่ สำหรับประกอบอิสริยยศสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัต บุนนาค)]]
[[ไฟล์:รูปหล่อ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัด บุนนาค).jpeg|left|150px|thumb|รูปหล่อ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติ (ทัดบุนนาค) ณ วัดพิชยญาติการามวรวิหาร]]
สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิไชยญาติมีบุตรธิดา ดังนี้
 
===ท่านผู้หญิงน้อย===
ท่านผู้หญิงน้อยเป็นธิดาพระยาสมบัติบาล (เสือ) กับคุณหญิงม่วง (ธิดาเจ้าคุณชายชูโต)