ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Narissara.1901 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Narissara.1901 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขย่อหน้า
บรรทัด 9:
ลักษณะของคลื่นนั้น จะระบุจาก สันคลื่น หรือ ยอดคลื่น (ส่วนที่มีค่าสูงขึ้น) และ ท้องคลื่น (ส่วนที่มีค่าต่ำลง) ในลักษณะ ตั้งฉากกับทิศทางเดินคลื่น เรียก "คลื่นตามขวาง" (transverse wave) หรือ ขนานกับทิศทางเดินคลื่น เรียก "คลื่นตามยาว" (longitudinal wave)
 
= ชนิดของคลื่น สามารถแบ่งออกได้ 2 ขนิด=
'''1.1 การจำแนกคลื่นตามลักษณะของตัวกลาง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้'''
 
'''1.) คลื่นตามขวางกล (mechanical Transverse waves wave)''' คือ เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในต้องอาศัยตัวกลางแล้วทำให้อนุภาค ในตัวกลางเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศทาง การเคลื่อนที่สามารถถ่ายทอดและโมเมนตัมโดยอาศัยความยืดหยุ่นของคลื่นตัวกลาง เช่น คลื่นตามขวางเสียง คลื่นน้ำ คลื่นในเส้นเชือก คลื่นแสง
 
'''2.) คลื่นตามยาวแม่เหล็กไฟฟ้า ( Longitudinalelectromagnetic wave )''' คือ เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในไม่ต้องอาศัยตัวกลางแล้วทำให้อนุภาคในตัวกลางเคลื่อนที่ตามแนวขนานกับ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น แสง คลื่นเสียงวิทยุ คลื่นสปริงโทรทัศน์
 
'''1.2 การจำแนกคลื่นตามลักษณะการกำเนิดคลื่น แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้'''
== ส่วนประกอบของคลื่น ==
# สันคลื่น คือ ตำแหน่งที่สูงที่สุดของคลื่น
# ท้องคลื่น คือ ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น
# อัมปลิจูด คือ ระยะจัดสูงสุดของคลื่นวัดจากตำแหน่งสมดุล
# คาบ Periiod คือ ช่วงเวลาในการสั่น 1 รอบของอนุภาค มีหน่วยเป็นวินาที แทนด้วย T
# ความถี่ Frequency คือ จำนวนรอบที่อนุภาคสั่นใน 1 วินาที มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที หรือ เฮิร์ท Hertz โดยที่คาบและความถี่ มีความสัมพันธ์
# ความยาวคลื่น Wavelength คือ ระยะทางที่คลื่นไปได้ในช่วงเวลาของ 1 คาบ แทนด้วย บางทีความยาวคลื่น คือ ระยะจากระหว่างจุด 2 จึดที่อยู่ถัดกัน ซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน
# อัตราเร็วคลื่นหรืออัตราเร็วเฟสคือ ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ความยาวคลื่น ในเวลา 1 คาบ มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที (m/s) โดยสำหรับในตัวกลางชนิดเดียวกัน อัตราเร็วคลื่นจะมีค่าคงที่ โดยความยาวคลื่นจะผกผันกับความถี่ นั้นคือ ถ้าความถี่สูง ความยาวคลื่นจะสั้น ส่วนคลื่นที่มีความถี่ต่ำ ความยาวคลื่นจะยาวขึ้น
 
'''1) คลื่นดล (pulse wave)''' คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดสั่นเพียงครั้งเดียว ทำให้เกิดคลื่นเพียงหนึ่งลูก อาจมีลักษณะกระจายออกจากแหล่งกำเนิดที่ทำให้เกิดคลื่น เช่น การโยนหินลงไปในน้ำ
=== ตัวกลางของคลื่น ===
 
'''2) คลื่นต่อเนื่อง (continuous wave)''' คือ คลื่นที่เกิดจากการสั่นของแหล่งกำเนิดหลายครั้งติดต่อกัน ทำให้เกิด คลื่นหลายลูกติดต่อกัน โดยความถี่ของคลื่นที่เกิดขึ้นเท่ากับความถี่ของการรบกวนของแหล่งกำเนิดคลื่น เช่น คลื่นน้ำที่ เกิดจากการใช้มอเตอร์
 
'''1.3 การจำแนกคลื่นตามลักษณะการเคลื่อนที่แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ'''
 
'''1) คลื่นตามขวาง ( Transverse waves )''' เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในตัวกลางแล้วทำให้อนุภาค ในตัวกลางเคลื่อนที่ตั้งฉากกับทิศทาง การเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นตามขวางในเส้นเชือก คลื่นแสง
 
'''2) คลื่นตามยาว ( Longitudinal wave )''' เป็นคลื่นที่ส่งผ่านไปในตัวกลางแล้วทำให้อนุภาคในตัวกลางเคลื่อนที่ตามแนวขนานกับ ทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น เช่น คลื่นเสียง คลื่นสปริง
 
== ส่วนประกอบของคลื่น ==
#* สันคลื่น คือ ตำแหน่งที่สูงที่สุดของคลื่น
#* ท้องคลื่น คือ ตำแหน่งต่ำสุดของคลื่น
#* อัมปลิจูด คือ ระยะจัดสูงสุดของคลื่นวัดจากตำแหน่งสมดุล
#* คาบ Periiod คือ ช่วงเวลาในการสั่น 1 รอบของอนุภาค มีหน่วยเป็นวินาที แทนด้วย T
#* ความถี่ Frequency คือ จำนวนรอบที่อนุภาคสั่นใน 1 วินาที มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที หรือ เฮิร์ท Hertz โดยที่คาบและความถี่ มีความสัมพันธ์
#* ความยาวคลื่น Wavelength คือ ระยะทางที่คลื่นไปได้ในช่วงเวลาของ 1 คาบ แทนด้วย บางทีความยาวคลื่น คือ ระยะจากระหว่างจุด 2 จึดที่อยู่ถัดกัน ซึ่งมีลักษณะเหมือนกัน
#* อัตราเร็วคลื่นหรืออัตราเร็วเฟสคือ ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้ 1 ความยาวคลื่น ในเวลา 1 คาบ มีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที (m/s) โดยสำหรับในตัวกลางชนิดเดียวกัน อัตราเร็วคลื่นจะมีค่าคงที่ โดยความยาวคลื่นจะผกผันกับความถี่ นั้นคือ ถ้าความถี่สูง ความยาวคลื่นจะสั้น ส่วนคลื่นที่มีความถี่ต่ำ ความยาวคลื่นจะยาวขึ้น
 
=== ตัวกลางของคลื่น ===
ตัวกลางที่คลื่นใช้ในการแผ่กระจายออก แบ่งออกเป็นประเภทได้ตามคุณลักษณะต่อไปนี้:
* ''ตัวกลางเชิงเส้น'' มีคุณสมบัติที่ขนาดของผลรวมคลื่น ที่จุดใด ๆ ในตัวกลางมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของคลื่นต่างขบวนกัน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/คลื่น"