ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดประเภทดาวฤกษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
M44 Beehive (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
ระหว่างช่วงคริสต์ทศวรรษ 1860 ถึง 1870 นักวิชาการด้านสเปกโตรสโกปีของดาวฤกษ์ยุคแรกๆ ชื่อ คุณพ่อ[[แองเจโล เซคคิ]] ได้คิดค้น'''ระบบจัดประเภทของดาวเคราะห์แบบเซคคิ'''ขึ้นเพื่อช่วยแบ่งประเภทสเปกตรัมที่ได้จากการสังเกต ปี ค.ศ. 1866 เขาได้พัฒนาระบบจัดแบ่งสเปกตรัมออกเป็น 3 ระดับ:<ref>[http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k30204/f364.table Analyse spectrale de la lumière de quelques étoiles, et nouvelles observations sur les taches solaires], P. Secchi, ''Comptes Rendus des Séances de l'Académie des Sciences'' '''63''' (July–December 1866), pp. 364–368.</ref><ref>[http://gallica.bnf.fr/ark:/12148/bpt6k30204/f623.table Nouvelles recherches sur l'analyse spectrale de la lumière des étoiles], P. Secchi, ''Comptes Rendus des Séances de l'Académie des Sciences'' '''63''' (July–December 1866), pp. 621–628.</ref><ref>pp. 60, 134, ''The Analysis of Starlight: One Hundred and Fifty Years of Astronomical Spectroscopy'', J. B. Hearnshaw, Cambridge, UK: Cambridge University Press, 1986, ISBN 0-521-25548-1.</ref> ดังนี้
 
* '''Class I:''' สำหรับดาวฤกษ์สีขาวและสีน้ำเงินซึ่งมี[[แถบไฮโดรเจน]]ค่อนข้างเข้ม เช่น[[ดาววีกาเวกา]] และ[[ดาวอัลแทร์]] การจัดระดับนี้กินความรวมการจัดระดับสมัยใหม่ทั้งแบบคลาส A และคลาส F ในช่วงต้น
*: '''Class I, Orion subtype:''' เป็นประเภทย่อยของคลาส I ซึ่งมีแถบค่อนข้างแคบแทนที่จะเป็นแถบกว้าง เช่น[[ดาวไรเจล]] และ [[ดาวเบลลาทริกซ์]] สำหรับการจัดระดับสมัยใหม่ ประเภทนี้จะสอดคล้องกับดาวฤกษ์คลาส B
* '''Class II:''' สำหรับดาวฤกษ์สีเหลืองที่มีความเข้มข้นของไฮโดรเจนน้อยกว่า แต่มีแถบความเป็นโลหะเด่นชัด เช่น[[ดวงอาทิตย์]], [[ดาวอาร์คตุรุส]] และ[[ดาวคาเพลลา]] เทียบกับการจัดระดับสมัยใหม่จะได้ประมาณคลาส G รวมไปถึงคลาส K และคลาส F ในช่วงปลายๆ
* '''Class III:''' สำหรับดาวฤกษ์สีส้มจนถึงสีแดงที่มีแถบสเปกตรัมค่อนข้างซับซ้อน เช่น[[ดาวบีเทลจุส]] และ[[ดาวอันแอนทาเรส|ดาวปาริชาต]] เทียบกับการจัดระดับสมัยใหม่ได้เท่ากับคลาส M
 
เซคคิได้ค้นพบ[[ดาวคาร์บอน]]ในปี ค.ศ. 1868 เขาจัดดาวประเภทนี้แยกไว้เป็นประเภทต่างหาก<ref>pp. 62–63, Hearnshaw 1986.</ref> คือ
บรรทัด 17:
เมื่อถึงปี ค.ศ. 1877 เขาได้เพิ่มการจัดระดับอีกหนึ่งระดับ<ref>p. 60, Hearnshaw 1986.</ref> คือ
 
* '''Class V:''' สำหรับดาวฤกษ์ที่มี[[เส้นสเปกตรัม|แถบการแพร่ (emission-line)]] เช่น ดาว [[γแกมม่า แคสสิซิโอปีเปีย]] and และ[[βเบต้า ไลเรพิณ]]
 
ช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1890 การจัดระดับแบบนี้เสื่อมความนิยมลงไป การจัดระดับของฮาร์วาร์ดเริ่มเข้ามาแทนที่ ซึ่งปรากฏในหัวข้อถัดไป