ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทพระวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
ปราสาทแห่งนี้มีชื่อเรียกเก่าสุดว่า "ภวาลัย" ตามรายงานของกรมวิชาการ และมีชื่ออื่น ได้แก่ "ศรีศิขรีศวร", "วีราศรม", และ "ตปัสวีนทราศรม"<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 46.</ref>
 
ส่วนนามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึกคือ "ศีรศิขเรศวร" (ស្រីសិខៈ រិ ស្វារៈ)<ref>[http://www.archae.go.th/project_pravihan.asp โครงการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง องค์ความรู้จากปราสาทพระวิหาร (สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร)]</ref> ประกอบด้วย "ศีร" (ศรี หรือสิริ, เป็นคำนำหน้า) กับ "ศิขเรศวร" มาจาก "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร" (ผู้เป็นใหญ่ หรือหมายถึง พระอิศวร) แปลได้ว่า ผู้เป็นใหญ่หรือพระอิศวรแห่งภูเขา
เมื่อ พ.ศ. 2442 [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]]ได้เสด็จไปยังปราสาทแห่งนี้ และทรงขนานนามว่า "ปราสาทพรหมวิหาร" ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า "ปราสาทพระวิหาร"<ref>เขาพระวิหาร . กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ</ref>
 
เมื่อ พ.ศ. 2442 [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]] ได้เสด็จไปยังปราสาทแห่งนี้ และทรงขนานนามว่า "ปราสาทพรหมวิหาร" ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า "ปราสาทพระวิหาร"<ref>เขาพระวิหาร . กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ</ref>
ส่วนนามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึกคือ "ศีรศิขเรศวร" (ស្រីសិខៈ រិ ស្វារៈ)<ref>[http://www.archae.go.th/project_pravihan.asp โครงการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง องค์ความรู้จากปราสาทพระวิหาร (สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร)]</ref> ประกอบด้วย "ศีร" (ศรี หรือสิริ, เป็นคำนำหน้า) กับ "ศิขเรศวร" มาจาก "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร" (ผู้เป็นใหญ่ หรือหมายถึง พระอิศวร) แปลได้ว่า ผู้เป็นใหญ่หรือพระอิศวรแห่งภูเขา
 
บางครั้ง ชาวกัมพูชาเรียกปราสาทว่า "พนมพระวิหาร" (ភ្នំព្រះវិហារ) ขณะที่ชาวไทยมักเรียกว่า "เขาพระวิหาร" และนับแต่ประมาณ พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา มีการละคำว่า "เขา" ไว้ในชื่อเพื่อแสดงถึงความแตกต่างระหว่างตัวปราสาทและเนินเขาที่ตั้งปราสาท