ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปราสาทพระวิหาร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ที่จริง ศิขเรศวร ควรแปลว่า เจ้า/อิศวรแห่งภูเขา มากกว่า ภูเขาแห่งเจ้า/อิศวร
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
 
== ชื่อ ==
== ชื่อ ==
ปราสาทแห่งนี้มีชื่อเรียกเก่าสุดว่า ภวาลัย ในรายงานของกรมวิชาการ และมีชื่ออื่น ได้แก่ ศรีศิขรีศวร, วีราศรม และตปัสวีนทราศรม<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 46.</ref> เมื่อ [[พ.ศ. 2442]] [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]]ได้เสด็จไปยังปราสาทแห่งนี้ และทรงขนานนามว่า "ปราสาทพรหมวิหาร" ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า "ปราสาทพระวิหาร"<ref>เขาพระวิหาร . กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ</ref> ส่วนนามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึกคือ "ศีรศิขเรศวร" (ស្រីសិខៈ រិ ស្វារៈ) แปลว่า ภูเขาแห่งพระอิศวร<ref>[http://www.archae.go.th/project_pravihan.asp โครงการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง องค์ความรู้จากปราสาทพระวิหาร (สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร)]</ref> ซึ่งเกิดจากการสมาสกันของคำว่า "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร"<ref name="สารคดี">นิตยสาร สารคดี ปีที่ 24 ฉบับที่ 282 สิงหาคม 2551</ref>
ปราสาทแห่งนี้มีชื่อเรียกเก่าสุดว่า "ภวาลัย" ตามรายงานของกรมวิชาการ และมีชื่ออื่น ได้แก่ "ศรีศิขรีศวร", "วีราศรม", และ "ตปัสวีนทราศรม"<ref>ธิดา สาระยา. หน้า 46.</ref>
 
เมื่อ พ.ศ. 2442 [[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าชุมพลสมโภช กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]]ได้เสด็จไปยังปราสาทแห่งนี้ และทรงขนานนามว่า "ปราสาทพรหมวิหาร" ซึ่งต่อมาเรียกกันทั่วไปว่า "ปราสาทพระวิหาร"<ref>เขาพระวิหาร . กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ</ref>
บางครั้ง ชาวกัมพูชาเรียกปราสาทว่า "พนมพระวิหาร" (ភ្នំព្រះវិហារ) ขณะที่ชาวไทยมักเรียกว่า "เขาพระวิหาร" ราว พ.ศ. 2551 คำว่า "เขา" ได้ถูกละไว้ในชื่อเพื่อแสดงถึงความแตกต่างระหว่างตัวปราสาทและเนินเขาซึ่งปราสาทสร้างขึ้น ซึ่งจำแนกได้เป็น "เขาพระวิหาร" และ "ปราสาทพระวิหาร"
 
ส่วนนามของปราสาทพระวิหารตามที่ปรากฏในศิลาจารึกคือ "ศีรศิขเรศวร" (ស្រីសិខៈ រិ ស្វារៈ)<ref>[http://www.archae.go.th/project_pravihan.asp โครงการเสวนาทางวิชาการ เรื่อง องค์ความรู้จากปราสาทพระวิหาร (สำนักโบราณคดี กรมศิลปากร)]</ref> ประกอบด้วย "ศีร" (ศรี หรือสิริ, เป็นคำนำหน้า) กับ "ศิขเรศวร" มาจาก "ศิขร" (ภูเขา) และ "อิศวร" (ผู้เป็นใหญ่ หรือหมายถึง พระอิศวร) แปลได้ว่า ผู้เป็นใหญ่หรือพระอิศวรแห่งภูเขา
 
บางครั้ง ชาวกัมพูชาเรียกปราสาทว่า "พนมพระวิหาร" (ភ្នំព្រះវិហារ) ขณะที่ชาวไทยมักเรียกว่า "เขาพระวิหาร" ราวและนับแต่ประมาณ พ.ศ. 2551 เป็นต้นมา มีการละคำว่า "เขา" ได้ถูกละไว้ในชื่อเพื่อแสดงถึงความแตกต่างระหว่างตัวปราสาทและเนินเขาซึ่งที่ตั้งปราสาทสร้างขึ้น ซึ่งจำแนกได้เป็น "เขาพระวิหาร" และ "ปราสาทพระวิหาร"
 
== ที่ประดิษฐาน ==
เส้น 28 ⟶ 33:
== สถาปัตยกรรม ==
[[ไฟล์:Phoukrisharjuna.jpg|thumb|ทับหลังสลักภาพพระกฤษณะกำลังรบกับอรชุน ที่โคปุระแห่งที่ 3]]
ปราสาทพระวิหารมีลักษณะเป็นแบบ[[ศิลปะบันทายศรี]] ลักษณะบางส่วนคล้ายคลึงกับพระวิหารของ[[ปราสาทนครวัด]] รูปรอยแกะสลักบนปราสาทสันนิษฐานได้ว่าเป็นศาสนสถานของศาสนาฮินดู[[ลัทธิไศวนิกาย]] มี[[พระศิวะ]]เป็นเทพสูงสุดของศาสนา เชื่อกันว่าสร้างขึ้นเพื่อถวายพระศิวะที่ทรงประทับบนยอดเขาไกรลาส ซึ่งเป็นยอดเขาสูงสุดของ[[เขาพระสุเมรุ]] ศูนย์กลางจักรวาลปราสาทพระวิหารจึงสร้างบนหน้าผาเป้ยตาดี ทำให้ปราสาทแห่งนี้เปรียบเหมือนการค่อย ๆ ก้าวไปสู่ที่ประทับของพระศิวะ ซึ่งแทนด้วย "ยอดเป้ยตาดี"<ref name="สารคดี">นิตยสาร สารคดี ปีที่ 24 ฉบับที่ 282 สิงหาคม 2551</ref> หากมองจากข้างล่างผาจะเห็นตัวปราสาทเหมือนวิมานสวรรค์ลอยอยู่บนฟากฟ้า<ref name="ไทยเสียดินแดนให้เขมร" /> โดยมีแผ่นดินเขมรต่ำ (ขแมร์กรอม) ประหนึ่งมหาสมุทรรองรับอยู่เบื้องล่าง<ref name="สารคดี" /> ตัวปราสาทประกอบด้วยสถาปัตยกรรมต่าง ๆ มากมาย ได้แก่ ปราสาทประธาน ระเบียงคด โคปุระ อาคารรูปกากบาท วิหาร บรรณาลัย และบันไดนาคพร้อมทางเดิน<ref name="pattayadailynews" />
 
ปราสาทพระวิหารมีลักษณะแผนผังที่ใช้แกนเป็นหลัก โดยจัดวางผังหันไปทาง[[ทิศเหนือ]] ซึ่งแตกต่างจากปราสาทอื่น ๆ ซึ่งตามปกติมักจะหันหน้าไปทาง[[ทิศตะวันออก]] อันเนื่องจากภูมิศาสตร์เป็นเครื่องกำหนดแล้ว ก็น่าจะเกิดจากปัจจัยอื่นบางประการที่แสดงถึงความสัมพันธ์กับดินแดนเขมรสูงในอดีต ตัวปราสาทประธานเป็นจุดศูนย์กลางล้อมรอบด้วยระเบียงคดทั้งสี่ด้าน ปราศจากบรรณาลัยขนาบเบื้องหน้า การวางผังที่กำหนดตำแหน่งอาคารมีความสมบูรณ์ลงตัวตั้งแต่แรกเริ่มของการก่อสร้าง โดยไม่มีการแก้ไขต่อเติมบริเวณลานชั้นในภายหลัง วัสดุตัวปราสาทสร้างด้วย[[หินทราย]]และ[[หินดาน]] โดยเทคนิคการก่อสร้างทำโดยนำก้อนศิลาทรายซึ่งตัดเป็นแท่งสี่เหลี่ยมขนาดไล่เลี่ยกันวางซ้อนกันขึ้นไปตามรูปผังที่กำหนดไว้ โดยอาศัยน้ำหนักของแท่งศิลาทรายแต่ละก้อนกดทับกันเพียงอย่างเดียว มีส่วนยึดจะใช้เมื่อจำเป็นเท่านั้น<ref name="oceansmile"/>