ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เอ็มเอส ไททานิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nawapon Nuangjumnong (คุย | ส่วนร่วม)
i
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Humdam (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
อีหลี
{|{{Infobox Ship Begin}}
{{Infobox Ship Image
| Ship image = [[ไฟล์:RMS Titanic 3.jpg|300px]]
| Ship caption = เรือ''ไททานิก''ขณะออกจากท่าเซาท์แทมป์ตัน 10 เมษายน ค.ศ. 1912
}}
{{Infobox Ship Career
| Hide header =
| Ship name = '''อาร์เอ็มเอส ''ไททานิก''''' (RMS ''Titanic'') <ref name="Maritimequest">[http://www.maritimequest.com/liners/titanic_data.htm Maritimequest: RMS Titanic's data]</ref>
| Ship owner = [[ไฟล์:White Star flaga.svg|25px]] บริษัท[[ไวท์สตาร์ไลน์]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship operator =
| Ship registry = [[ไฟล์:Government Ensign of the United Kingdom.svg|25px]]<ref>{{cite book |last=Wilson |first=Timothy |title=Flags at Sea |publisher=Her Majesty's Stationery Office |location=London |date=1986 |page=34 |chapter=Flags of British Ships other than the Royal Navy |isbn=0-11-290389-4}}</ref> [[ลิเวอร์พูล]] [[สหราชอาณาจักร]]
| Ship route = เบลฟัสต์ - ควีนส์ทาวน์ (ท่าเรือโคบห์) - แชร์บรูก - เซาแธมป์ตัน - นิวยอร์ก
| Ship ordered = 31 กรกฎาคม ค.ศ. 1908<ref name="Maritimequest"/>
| Ship builder = อู่ต่อเรือ ฮาร์แลนด์แอนด์วูลฟฟ์ ในควีนส์ไอแลนด์ เมือง[[เบลฟัสต์]] [[ไอร์แลนด์เหนือ]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship original cost =
| Ship yard number = 401<ref name="Atlantic"/>
| Ship way number =
| Ship laid down = [[31 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1909]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship launched = [[31 พฤษภาคม]] [[ค.ศ. 1911]]<ref name="Maritimequest"/> เวลา 10.30 น. ตาม[[เวลาท้องถิ่น]]
| Ship completed = [[2 เมษายน]] [[ค.ศ. 1912]]
| Ship christened = ไม่มี
| Ship acquired =
| Ship maiden voyage = [[10 เมษายน]] [[ค.ศ. 1912]]<ref name="Maritimequest"/>
| Ship in service =
| Ship registry = [[ลิเวอร์พูล]]
| Ship out of service =
| Ship identification = สัญญาณเรียกขาน "MGY"<ref name="Great"/> <br /> ตัวเลขทางราชการของอังกฤษ : 131428
| Ship fate = ชนภูเขาน้ำแข็ง วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 เวลา 23.40 น. (เวลาเรือ) ในการเดินเรือเที่ยวแรก และอัปปาง 2 ชั่วโมง 40 นาทีให้หลัง<ref name="Maritimequest"/>
| Ship notes =
}}
{{Infobox Ship Characteristics
| Hide header =
|
| Ship class = [[ไวท์สตาร์ไลน์#เรือชั้นโอลิมปิก (Olympic class ships)|ชั้นโอลิมปิก]]
| Ship tonnage = 46,428 ตัน<ref name="Great"/>
| Ship displacement = 52,310 ตัน<ref name="Atlantic">[http://www.atlanticliners.com/titanic_home.htm Titanic's home at Atlantic Liners]</ref>
| Ship length = ความยาวตลอดลำ 883 ฟุต 9 นิ้ว<ref name="Great">[http://www.thegreatoceanliners.com/titanic.html The Great Ocean Liners: RMS Titanic]</ref> ยาวกว่าเรือโอลิมปิก 3 นิ้ว<ref name="Times 19110527" />
| Ship beam = วัดที่แนวน้ำกลางลำเรือ 92 ฟุต 6 นิ้ว<ref name="Times 19110527" />
| Ship height = วัดจากแนวน้ำถึงดาดฟ้าเรือบด 60 ฟุต 6 นิ้ว และวัดจากกระดูกงูถึงปลายปล่องไฟ 175 ฟุต
| Ship draught = วัดจากกลางท้องเรือถึงแนวน้ำ 34 ฟุต 7 นิ้ว<ref name="Maritimequest"/>
| Ship depth = 64 ฟุต 6 นิ้ว (19.7 เมตร) <ref name="Times 19110527">{{cite journal|last=Staff|date=27 May 1911|title=The Olympic and Titanic|journal=[[The Times]]|location=London|issue=39596|page=4}}</ref>
| Ship decks = 10 ชั้น; 7 ชั้นสำหรับผู้โดยสาร, 3 ชั้นสำหรับลูกเรือ โดยมี Sun deck, Boat (ชั้น เอ), Promenade (ชั้น บี), decks ซี-จี, ชั้นท้องเรืออีก 2 ชั้น (เป็นพื้นที่สำหรับหม้อน้ำ, [[เชื้อเพลิง]], เครื่องยนต์, ห้องผนึกน้ำ, ประตูกั้นน้ำ หรือพื้นทีสำหรับเพลาใบจักร เป็นต้น)
| Ship deck clearance =
| Ship ramps =
| Ship ice class =
| Trial length = 62 วินาที
| Ship power = 2 ชุดเครื่องยนต์ 4 กระบอกสูบไอน้ำ Triple Expansion ขับเคลื่อนโดยตรงกับใบจักรข้างซ้าย-ขวา ให้กำลัง 30,000 แรงม้า 75 รอบ/นาที และไอน้ำความดันต่ำที่ผ่านการใช้เครื่องยนต์กระสอบสูบทั้งสองชุดเข้าสู่เครื่องยนต์เทอร์ไบน์ขับเคลื่อนผ่านชุดเกียร์สู่ใบจักรกลาง ให้กำลัง 16,000 แรงม้า 165 รอบ/นาที
<ref name="beveridge">{{cite book|last=Beveridge|first=Bruce|coauthors=Hall, Steve |title=Olympic & Titanic|publisher=Infinity|location=West Conshohocken, PA |date=2004|page=1|chapter=Ismay's Titans|isbn=0741419491}}</ref>
| Ship propulsion = 3 ใบ ทำจากสัมฤทธิ์ โดยใบจักรกลางขนาด 16 ฟุต ดุมใบจักรเป็นกรวยครอบ พวงใบจักรมี 4 ใบ และใบจักรข้างทั้งสอง ขนาด 23 ฟุต 6 นิ้ว ไม่มีกรวยครอบที่ดุม พวงใบจักรมี 4 ใบ<ref name="Great"/>
| Ship speed = * ความเร็วเรือออกแบบ: 20-23 นอต<ref name="Maritimequest"/>
* ความเร็วสูงสุด: ไม่เคยทดสอบอย่างจริงจัง คาดว่าประมาณ 23 นอต<ref name="Great"/>
| Ship capacity = * แบบพักเดี่ยว 1,324 คน (ชั้นหนึ่ง 329 คน ชั้นสอง 285 คน และชั้นสาม จำนวน 710 คน) และสามารถปรับเปลี่ยนเป็นพักแบบคู่ในบางห้องได้เป็น 2,435 คน<ref name="Great"/>
* ความจูสูงสุด: 3,547 คน
| Ship crew = 860 คน<ref name="Maritimequest"/>
| Ship notes =
}}
|}
 
'''อาร์เอ็มเอส ''ไททานิก''''' ({{lang-en|RMS ''Titanic''}}) เป็นเรือโดยสารซึ่งจมลงสู่ก้น[[มหาสมุทรแอตแลนติก]]เมื่อวันที่ 15 เมษายน ค.ศ. 1912 หลังชน[[ภูเขาน้ำแข็ง]]ระหว่างการเดินทางเที่ยวแรกจาก[[เซาท์แทมป์ตัน]] สหราชอาณาจักร ไป[[นครนิวยอร์ก]] สหรัฐอเมริกา การจมของ''ไททานิก'' ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 1,514 ศพ นับเป็นภัยพิบัติทางทะเลในยามสงบครั้งที่มีผู้เสียชีวิตมากครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์ ''ไททานิก'' เคยเป็นสิ่งของเคลื่อนได้ที่ใหญ่ที่สุดที่ทำด้วยฝีมือมนุษย์ในขณะการเดินทางเที่ยวแรก เป็นหนึ่งในสามเรือโดยสารชั้นโอลิมปิกซึ่งดำเนินการโดยไวต์สตาร์ไลน์ สร้างขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1909-1911 โดยอู่ต่อเรือฮาร์แลนด์แอนดวูล์ฟฟ์ในเบลฟาสต์บรรทุกผู้โดยสาร 2,223 คน
 
ผู้โดยสารบนเรือมีบรรดาบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลก เช่นเดียวกับผู้อพยพกว่าพันคนจากบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์ สแกนดิเนเวีย เป็นต้น ซึ่งกำลังแสวงหาชีวิตใหม่ในทวีปอเมริกาเหนือ เรือได้รับการออกแบบให้มีความสะดวกสบายและความหรูหราที่สุด โดยบนเรือมียิมเนเซียม สระว่ายน้ำ ห้องสมุด ภัตตาคารชั้นสูงและห้องจำนวนมาก นอกจากนี้ ยังมีโทรเลขไร้สายทรงพลังซึ่งจัดเตรียมไว้เพื่อความสะดวกของผู้โดยสาร เช่นเดียวกับการใช้เชิงปฏิบัติการ แต่แม้ ''ไททานิก'' จะมีคุณลักษณะความปลอดภัยที่ก้าวหน้า เช่น ห้องกันน้ำและประตูกันน้ำที่ทำงานด้วยรีโมต ก็ยังขาดเรือชูชีพที่เพียงพอสำหรับบรรทุกผู้โดยสารทุกคนบนเรือ เนื่องจากระเบียบความปลอดภัยในทะเลที่ล้าสมัย จึงมีเรือชูชีพเพียงพอสำหรับผู้โดยสาร 1,178 คนเท่านั้น เกินครึ่งของผู้ที่เดินทางไปกับเรือในเที่ยวแรกเล็กน้อย และหนึ่งในสามของความจุผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมดเท่านั้น
 
หลังเดินทางออกจากเซาท์แทมป์ตันเมื่อวันที่ 10 เมษายน ค.ศ. 1912 ''ไททานิก'' ถูกเรียกที่เชอร์บูร์ก (Cherbourg) ในฝรั่งเศส และควีนส์ทาวน์ (ปัจจุบันคือ โคฟ, Cobh) ในไอร์แลนด์ ก่อนมุ่งหน้าไปทางตะวันตกมุ่งสู่นิวยอร์ก วันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1912 ห่างจากเซาท์แทมป์ตันไปทางใต้ราว 600 กิโลเมตร ''ไททานิก'' ชนเข้ากับภูเขาน้ำแข็งเมื่อเวลา 11.40 น. (ตามเวลาเรือ GMT-3) การชนแฉลบทำให้แผ่นลำเรือ''ไททานิก'' งอเข้าในตัวเรือหลายจุดบนฝั่งกราบขวา และเปิดห้องกันน้ำห้าจากสิบหกห้องสู่ทะเล อีกสองชั่วโมง สามสิบนาทีต่อมา น้ำค่อยๆ ไหลเข้ามาในเรือและจมลง ผู้โดยสารและสมาชิกลูกเรือบางส่วนถูกอพยพในเรือชูชีพ โดยมีเรือชูชีพจำนวนมากถูกปล่อยลงน้ำไปทั้งที่ยังบรรทุกไม่เต็ม ชายจำนวนมาก กว่า 90% ของชายในที่นั่งชั้นสอง ถูกทิ้งอยู่บนเรือเพราะระเบียบ "ผู้หญิงและเด็กก่อน" ตามด้วยเจ้าหน้าที่ซึ่งบรรทุกเรือชูชีพนั้น ก่อน 2.20 น. เล็กน้อย ''ไททานิก'' แตกและจมลงโดยยังมีอีกกว่าพันคนอยู่บนเรือ คนที่อยู่ในน้ำเสียชีวิตภายในไม่กี่นาทีจากภาวะตัวเย็นเกิน (hypothermia) อันเกิดจากการจุ่มในมหาสมุทรที่เย็นจนเป็นน้ำแข็ง ผู้รอดชีวิต 710 คนถูกนำขึ้นเรืออาร์เอ็มเอส ''คาร์พาเธีย'' (RMS ''Carpathia'') อีกไม่กี่ชั่วโมงให้หลัง
 
ภัยพิบัติดังกล่าวทำให้ทั่วโลกตกตะลึงและโกรธจากการสูญเสียชีวิตอย่างใหญ่หลวง และความล้มเหลวของกฎระเบียบและปฏิบัติการซึ่งนำไปสู่ภัยพิบัตินั้น การไต่สวนสาธารณะในอังกฤษและสหรัฐอเมริกานำมาซึ่งพัฒนาการหลักในความปลอดภัยในทะเล หนึ่งในมรดกสำคัญที่สุด คือ การจัดตั้งอนุสัญญาความปลอดภัยของชีวิตในทะเลระหว่างประเทศ (SOLAS) ใน ค.ศ. 1914 ซึ่งยังควบคุมความปลอดภัยในทะเลตราบจนทุกวันนี้ ผู้รอดชีวิตหลายคนสูญเสียเงินและทรัพย์สินทั้งหมดและถูกทิ้งให้อดอยากแร้นแค้น หลายครอบครัว โดยเฉพาะอย่างยิ่งของสมาชิกลูกเรือจากเซาท์แทมป์ตัน สูญเสียเสาหลักของครอบครัวไป พวกเขาได้รับความช่วยเหลือจากความเห็นใจสาธารณะและการบริจาคของมูลนิธิที่หลั่งไหลเข้ามา
 
== เบื้องหลัง ==