ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ราชวงศ์ญี่ปุ่น"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 6822523 สร้างโดย 58.8.156.111 (พูดคุย)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 94:
* ''ชินโน'' - พระราชวงศ์ชั้นสูง (ฝ่ายหน้า)
* ''ไนชินโน'' - พระราชวงศ์ชั้นสูง (ฝ่ายใน)
* ''ชินโนฮิ'' - พระวรชายาและพระชายาของชินโน (ฝ่ายใน)
* ''โอ'' - พระราชวงศ์ชั้นล่าง (ฝ่ายหน้า)
* ''โจ'' - พระราชวงศ์ชั้นล่าง (ฝ่ายใน)
* ''โอฮิ'' - ชายาพระชายาของโอ (ฝ่ายใน)
ชินโนที่เป็นลูกของจักรพรรดิ บุตรจะยังคงได้ฐานันดรเป็น ''ชินโน'' หรือ ''ไนชินโน'' แต่สำหรับชินโนที่เป็นหลานของจักรพรรดิ บุตรได้ฐานันดรเป็น ''โอ'' หรือ ''โจ'' อาทิ [[เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ]] ทรงเป็นพระเจ้าลูกยาเธอในจักรพรรดิไทโช ถึงจะสมรสกับสามัญชน ดังนั้นพระบุตรจะยังคงได้เป็น ''ชินโน'' และ ''ไนชินโน'' แต่เมื่อมาถึงรุ่นลูกของเจ้ามิกะซะ คือ [[เจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ]] กับ [[เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ]] ทั้งสองพระองค์ทรงเป็นพระเจ้าหลานเธอปู่ในจักรพรรดิไทโช (นอกสายโลหิตของจักรพรรดิอะกิฮิโตะ จึงไม่ได้อยู่ในสายการสืบราชสันตติวงศ์) ทำการสมรสกับสามัญชน ดังนั้น พระธิดาของทั้งสองพระองค์จึงได้ฐานันดรเพียงแค่ ''โจ''
พระราชวงศ์ชั้นชินโน (ที่พระยศต่ำกว่าพระเจ้าลูกยาเธอ) ที่ไม่ได้อยู่ในสายการสืบราชสันนติวงศ์ บุตรที่เกิดกับภรรยาที่เป็นเจ้า จะได้ฐานันดรคงเป็น ''ชินโน'' หรือ ''ไนชินโน'' เสมือนบิดา หากเป็นบุตรที่เกิดกับภรรยาที่เป็นสามัญชน จะได้ฐานันดรเป็น ''โอ'' หรือ ''โจ''
อาทิ [[เจ้าชายทะกะฮิโตะ เจ้ามิกะซะ]] ทรงเป็นพระเจ้าลูกยาเธอในจักรพรรดิไทโช ถึงจะสมรสกับสามัญชน พระบุตรจะยังคงได้เป็น ''ชินโน'' และ ''ไนชินโน'' แต่เมื่อมาถึง [[เจ้าชายโทะโมะฮิโตะแห่งมิกะซะ]] กับ [[เจ้าชายโนะริฮิโตะ เจ้าทะกะมะโดะ]] ทั้งสองพระองค์ทรงเป็นพระเจ้าหลานเธอในจักรพรรดิไทโช (นอกสายโลหิตของจักรพรรดิอะกิฮิโตะ จึงไม่ได้อยู่ในสายการสืบราชสันตติวงศ์) ทำการสมรสกับสามัญชน ดังนั้น พระธิดาของทั้งสองพระองค์จึงได้ฐานันดรเพียงแค่ ''โจ''
 
ระบบขุนนางสืบตระกูลหรือที่เรียกว่า '''[[คะโซะกุ]]''' (華族) ยึดหลักตามระบบขุนนางสืบตระกูลในยุโรป คือโอรสผู้สืบสันดานจะได้สืบทอดบรรดาศักดิ์และสิทธิทั้งหมดของบิดา (มีเกียรติฐานะเทียบเท่าบิดา) สืบตระกูลไปเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุดโดยคงสถานะความเป็นเจ้าที่ฐานันดรชั้น ''โอ'' (ต่างจากของไทยที่มีการลดฐานันดรลงเรื่อยๆ จากหม่อมเจ้า→หม่อมราชวงศ์→หม่อมหลวง) จนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่สอง สหรัฐอเมริกาได้ยกเลิกระบบราชนิกุลสืบตระกูลของญี่ปุ่น ทำให้ราชนิกุลทั้งหมดที่ไม่ได้อยู่ในสายการสืบราชสันตติวงศ์ ไม่สามารถใช้ฐานันดรชั้น ''โอ'' ได้อีกต่อไป (สูญเสียความเป็นเจ้า) อย่างไรก็ตาม อดีตเจ้าชายเหล่านี้ ก็ได้รับบรรดาศักดิ์อื่นแทน เช่น [[เคานต์]] หรือ [[ไวเคานต์]] โดยทายาทสามารถสืบแต่ได้นามสกุล
 
สามัญชนผู้เป็นประมุขของตระกูลที่มีเกียรติยศ อาจได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าสืบตระกูล (ญี่ปุ่น: มิยะ, อังกฤษ: Prince) อาทิ [[โทะกุงะวะ อิเอะซะโตะ|เจ้าโทะกุงะวะ อิเอะซะโตะ]] (ทายาทของโชกุนคนสุดท้าย) ซึ่งไม่จำเป็นว่าสามัญชนผู้นั้นมีความเกี่ยวข้องทางสายเลือดกับพระราชวงศ์
 
== สกุลราชินิกุล ==