ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิญญาพ็อทซ์ดัม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Bundesarchiv Bild 183-R67561, Potsdamer Konferenz, Konferenztisch.jpg|255px|thumb|right|การประชุมพ็อทซ์ดัมของผู้นำฝ่ายสัมพันธมิตร ณ เมือง[[พ็อทซ์ดัม]] ประเทศเยอรมนี]]
 
'''ปฏิญญาพ็อทซ์ดัม''' ({{lang-en|Potsdam Declaration}}) หรือ '''การคำประกาศข้อปฏิบัติเมื่อญี่ปุ่นยอมจำนน''' ({{lang-en|Proclamation Defining Terms for Japanese Surrender}}) เป็นถ้อยแถลงเรียกร้องให้[[กองทัพจักรวรรดิญี่ปุ่น]]ยอมจำนนในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] การประชุมนี้มีขึ้นเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 ณ เมือง[[พ็อทซ์ดัม]]ของเยอรมนี นำโดยประธานาธิบดี[[แฮร์รี เอส. ทรูแมน]], นายกรัฐมนตรี[[วินสตัน เชอร์ชิล]] และประธาน[[เจียง ไคเช็ก]]แห่งรัฐบาลแห่งชาติจีน การประชุมครั้งนี้ได้แถลงข้อปฏิบัติหาก[[การยอมจำนนของญี่ปุ่น|จักรวรรดิญี่ปุ่นยอมจำนน]] นอกจากนี้ยังมีคำเตือนอีกว่าญี่ปุ่นอาจจะเผชิญหน้ากับ ''"ความล่มสลายอย่างสิ้นเชิงในไม่ช้า"''<ref name=atomicarchive>{{cite web | title = Potsdam Declaration: Proclamation Defining Terms for Japanese Surrender Issued, at Potsdam, July 26, 1945 | url = http://www.atomicarchive.com/Docs/Hiroshima/Potsdam.shtml | publisher = National Science Digital Library }}</ref><ref>{{cite web | publisher = United States Department of State, Office of the Historian | url = http://history.state.gov/milestones/1937-1945/PotsdamConf | title = Milestones: 1937-1945 / The Potsdam Conference, 1945 }}</ref> หากไม่ยอมจำนน ซึ่งเป็นคำเตือนถึง[[การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ|การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์]]
 
ข้อเสนอต่อญี่ปุ่นได้แก่ ดินแดนที่ญี่ปุ่นยึดครองอยู่จะอยู่ใต้การยึดครองของฝ่ายสัมพันธมิตรแทน, อธิปไตยของญี่ปุ่นจะถูกจำกัดในพื้นที่[[เกาะฮนชู]] [[ฮกไกโด]] [[คีวชู]] และ[[ชิโกะกุ]], ทหารญี่ปุ่นที่วางอาวุธจะได้รับอนุญาติให้กลับแผ่นดินเกิดได้โดยสวัสดิภาพ, ฝ่ายสัมพันธมิตรไม่มีความประสงค์ที่จะกดขี่หรือทำลายชาติญี่ปุ่น
บรรทัด 8:
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]
[[หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สอง]]