ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Patiwat~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
Patiwat~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 33:
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีบุคคลและองค์กรต่าง ๆ ออกมาเรียกร้องในหลายประเด็น เช่น
* '''การแก้ให้[[สมาชิกวุฒิสภา]]มาจากการแต่งตั้ง แทนทีจะมาจากการเลือกตั้ง''' เดิมในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 สมาชิกวุฒิสภา มาจากการเลือกตั้ง สภาร่างรัฐธรรมนูญได้้แก้ไขให้มาจากการแต่งตั้งโดยกลุ่มทหารและข้าราชกาล นาย [[วิชา มหาคุณ]] อดีตผู้พิพากษา และกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้สนับสนุนการแต่งตั้งวุฒิสมาชิก โดยกล่าวว่า "เรารู้กันดีว่ากา่ีรเลือกตั้งเป็นความชั่วร้าย ทำไมชาวบ้านถึงอยากให้เห็นประวัตศาสตร์ซ้ำรอย? ชาวบ้าน และโดยเฉพาะนักวิชาการ ที่อยากให้รัฐธรรมนูญฉบับนี้จะก่อให้เกิด ประชาธิปไตยที่แท้จริง กำลังคิดแบบฝันลอย การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นปัญหา เหมือนที่เห็นกันในอดีต ดังนั้น ทำไมชาวบ้านไม่อยากให้กลุ่มผู้พิพากษาช่วยเลือกให้?"<ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/2007/04/27/politics/politics_30032854.php Charter drafter pans 'evil' elections], 27 April 2007</ref>
* '''การลดความมั่นคงของ[[ฝ่ายบริหาร]]และระบบ[[พรรคการเมือง]]''' เดิมในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ฝ่ายบริหารที่มาจากการเลือกตั้งมีความมั่นคง และระบบพรรคการเมืองเพิ่มความสำคัญขึ้่น<ref name="Process1">Borwornsak Uwanno and Wayne D. Burns, [http://www.thailawforum.com/articles/constburns1.html The Thai Constitution of 1997 Sources and Process, part 1]</ref><ref name="Process2">Borwornsak Uwanno and Wayne D. Burns, [http://www.thailawforum.com/articles/constburns2.html The Thai Constitution of 1997 Sources and Process, part 2]</ref> สภาร่างรัฐธรรมนูญได้้แก้ไขให้ฝ่ายบริหารและระบบพรรคการเมืองมีความอ่อนแอลง โดยทำให้ยื่นญัตติไม่ไว้วางใจรัฐบาลได้ง่ายขึ้น อนุญาตให้สส.ย้ายพรรคได้ง่ายขึ้น และไม่อนุญาตให้บุคคลใดมีสิทธิืเป็นนายกรัฐมนตรีเกินสามสองสมัย<ref>The Christian Science Monitor, [[http://www.csmonitor.com/2007/0427/p06s01-woap.html?page=3 Draft Thai constitution draws criticism]], 27 April 2007</ref><ref>IPS, [http://ipsnews.net/news.asp?idnews=37455 New Constitution Regressive Say Critics], 23 April 2007</ref>
* [[กรณีการเรียกร้องให้บัญญัติคำว่าพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทยไว้ในรัฐธรรมนูญ|การไม่บัญญัติพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ]] โดย [[มหามกุฏราชวิทยาลัย]], [[มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]], [[องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก]], [[ยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย]], [[คณะสงฆ์อณัมนิกาย]] และิีอีก 300 องค์กรได้รณรงค์ให้มีการบัญญัติคำว่าพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ แต่ไม่สำเร็จ<ref>คมชัดลึก, [http://news.sanook.com/politic/politic_144675.php ม็อบชาวพุทธปิดถ.อู่ทองในกดดันสสร.บัญญัติพุทธศาสนาประจำชาติ], 11 มิถุนายน พ.ศ. 2550</ref><ref>สำนักข่าวเนชั่น, [http://breakingnews.nationchannel.com/read.php?lang=T&newsid=242435 องค์กรพุทธร้องบรรจุพุทธศาสนาประจำชาติในรธน.], 13 กุมภาพันธ์ 2550</ref>
* การเรียกร้องให้เปลี่ยนนามประเทศไทยเป็นสยาม โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ|ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]] เพื่อให้สอดคล้องกับความเป็นจริงทางเชื้อชาติ ภาษาและอัตลักษณ์วัฒนธรรม ตรงตามข้อมูลทางประวัติศาสตร์ เพื่อหลักการณ์ของความสมานฉันท์ ยอมรับในความหลากหลายทางเชื้อชาติ<ref>คมชัดลึก, [http://www.komchadluek.net/2007/04/09/a001_106075.php?news_id=106075 ล่ารายชื่อเปลี่ยน"ประเทศไทย"เป็น"สยาม"], 9 เมษายน 2550</ref>