ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วินัย (นิกาย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Disthan (คุย | ส่วนร่วม)
คำผิด ศัรทธา เป็น ศรัทธา,อุปสมบท เป็น อปุสมบท,กรรุ เป็น กรรม
บรรทัด 14:
นิกายวินัยรุ่งเรืองอย่างมากในสมัยราชวงศ์ถัง โดยเฉพาะยุคของพระเถระต้าวซ่วน มีการรจนาปกรณ์อธิบายพระวินัยหลายฉบับ ต่อมาโรยราลงอย่างมากในยุคกวาดล้างพุทธศาสนารัชสมัยพระเจ้าถังอู่จง กระทั่งในสมัยราชวงศ์ซ่งเริ่มคึกคักอีกครั้ง มีพระเถระหยุ่นคาน (允堪) รจนาฎีกาอธิบายอรรถกถาของพระเถระต้าวซ่วน และมีการสร้างสีมาอุปสมบทพระอารามสำคัญ<ref>Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 11 </ref>
 
ครั้นถึงสมัยราชวงศ์หยวนและราชวงศ์หมิง นิกายวินัยโรยราอีกครั้ง อย่างไรก็ตาม ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์หมิง มีพระเถระนามว่า กู่ซิน (古心) เดินทางไปยังอู่ไถซาน ภูเขาศักดิ์สิทธิ์แห่งพระโพธิสัตว์มัญชุศรี ท่านเดินทางจาริกด้วยเท้าไปอู่ไถซานานถึง 3 ปี ครั้นแล้วบังเกิดนิมิตว่าพระโพธิสัตว์มัญชุศรีมาสอนพระวินัยแก่ท่านอย่างทะลุปรุโปร่ง ท่านจึงเกิดศัรทธาศรัทธาที่จะพื้นฟูพระวินัยอีกครั้ง โดยฟื้นฟูการศึกษาคัมภีร์ และอปุสมบทอุปสมบทวิธี จนท่านได้รับฉายาว่า เป็นพระอุบาลีท่านที่สอง การฟื้นฟูของท่าน กู่ซิน ประสบความสำเร็จอย่างมาก ทำให้นิกายวินัยแพร่หลายไปทั่วจีนอีกครั้ง จากราชวงศ์หมิง สืบต่อมาถึงราชวงศ์ชิง<ref>Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 11 </ref>
 
กระทั่งถึงยุคสาธารณรัฐ พระเถระหงอี (弘一) ได้ฟื้นฟูนิกายวินัยอีกครั้ง ด้วยการศึกษาปกรณ์ของพระเถระต้าวซ่วน ส่งเสริมการรักษาสิกขาบทอย่างเคร่งครัด อีกทั้งตัวท่านยังวัตรปฏิบัติงดงาม มีความพากเพียรในการส่งเสริมพุทธศาสนา ยังศรัทธาให้เกิดแก่สาธุชนจีนอย่างมหาศาล นับเป็นการสืบทอดนิกายวินัยมิให้สูญหายครั้งสำคัญครั้งหนึ่ง <ref>Rulu. (2012) Bodhisattva Precepts. หน้า 12</ref>
บรรทัด 24:
# สัมภารสังคหศีล (เนียบลุกงีก่าย) ได้แก่การงดเว้น การประกอบอกุศลกรรม ที่ผิดบทบัญญัติแห่งวินัย
#
# กุศลสังคหศีล (เนียบเสียงฮวบก่าย) ได้แก่การประกอบกุศลกรรุกรรมไม่ขาด
#
# สัตตวารถกริยาสังคหศีล (เนียบโจ้งเซงก่าย) ได้แก่การบำเพ็ญประโยชน์สุขแก่สรรพสัตว์
บรรทัด 34:
# ซิกฮวบจง ได้แก่ฝ่ายสรวาสติวาทิน ถือว่ารูปธรรมเป็นปทัฏฐานของศีล ทั้งนี้เพราะถือว่าสิ่งทั้งปวงมีอยู่
#
# แกเมี้ยงจง ได้แก่มหายานคติศูนยตวาทิน ที่ถือว่าปทัฏฐานของศีล ไม่เป็นรูปธรรมหรือนามธรรม ทั้งนี้ก็เนื่องด้วยมีคติว่า ธรรมทั้งปวงไม่มีภาวะ ดำรงอยู่เพียงสมมติบัญญัติ
#
# อีกาจง ได้แก่มหายานฝ่ายโยคาจารที่ถือว่า ปทัฏฐานของศีลได้แก่ใจ ด้วยมีคติว่าสิ่งทั้งปวงเป็นปรากฏการณ์ของใจ <ref>เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน </ref>
จ <ref>เสถียร โพธินันทะ. ปรัชญามหายาน </ref>
 
== ปกรณ์สำคัญ ==