ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบสถ์กาลหว่าร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
คำผิด กงศุล เป็น กงศุล,อย่ เป็น อยู่,ก่ออิฐถือปืน เป็น ก่ออิฐถือปูน,ประมาฯ เป็น ประมาณ
บรรทัด 55:
ต่อมาชาวโปรตุเกสจากค่ายแม่พระลูกประคำได้อพยพโยกย้ายไปทำมาหากินตามที่ต่าง ๆ ทำให้ลดจำนวนลงเรื่อยๆ จนแทบไม่หลงเหลืออยู่อีกต่อไป มีบาทหลวงชาวไทยมาทำมิสซาบ้างเป็นบางโอกาส
 
ในปี [[ค.ศ. 1820]] พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้พระราชทานที่ดินแปลงหนึ่งตั้งอยู่ใต้โบสถ์กาลหว่าร์ลงไปเล็กน้อย เพื่อตั้งกงศุลกงสุลโปรตุเกส และในภายหลังได้กลายเป็น สถานเอกอัครราชทูตโปรตุเกส ในปัจจุบัน<ref>วัดกาลหว่าร์ - Holy Rosary Church, หน้า 20</ref>
 
=== โบสถ์หลังที่สอง (1838-1890) ===
บรรทัด 68:
คุณพ่อดาเนียล ชาวฝรั่งเศส เข้ามาปกครองสืบต่อจากคุณพ่อดีอปองค์ ในปี ค.ศ. 1864 และในปีนี้เองเกิดเพลิงไหม้บ้านพักบาทหลวง ซึ่งได้ทำให้เกิดความเสียหายอย่างมากต่อเอกสารต่างๆ ของโบสถ์<ref>วัดกาลหว่าร์ - Holy Rosary Church, หน้า 23</ref> ภายหลังเหตุการณ์ได้ 10 ปีคุณพ่อดาเนียลก็กลับฝรั่งเศส
 
คุณพ่อซาลาแด็ง ได้รับหน้าที่ต่อจากคุณพ่อดาเนียล ในปี ค.ศ. 1874 นับเป็นคุณพ่ออธิการโบสถ์องค์ที่ 4 ประจำอย่อยู่ 4 ปี แล้วย้ายไปเป็นอธิการโบสถ์บางช้าง ([[อาสนวิหารแม่พระบังเกิด บางนกแขวก]] [[จังหวัดราชบุรี]]) จากนั้นก็มีคุณพ่อราบาร์แดล และคุณพ่อโฟก มารับช่วงตำแหน่งติดต่อกันองค์ละ 2 เดือน ตามลำดับ
 
ในโบสถ์หลังที่ 2 นี่เอง เจ้าหน้าที่สถานทูตโปรตุเกสจะมีที่นั่งสงวนไว้สำหรับพวกเขา เพราะเขาถือความสัมพันธ์ที่พวกเขามีอยู่อย่างแน่นแฟ้นกับชุมชนนี้ และธรรมเนียมนี้ก็ยังคงมีต่อมาแม้ในโบสถ์หลังที่ 3 คือหลังปัจจุบันก็ตาม และเป็นเช่นนี้จนกระทั่ง [[ภาษาไทย]] และ[[ภาษาจีน]] เข้ามาแทนที่ภาษาละติน จึงเลิกธรรมเนียมนี้ไป<ref>วัดกาลหว่าร์ - Holy Rosary Church, หน้า 23</ref>
บรรทัด 81:
นอกจากนั้นตามผนังยังมีรูปปั้นนักบุญต่างๆ และรูป 14 ภาค แขวนไว้โดยรอบด้านหน้าโบสถ์ใกล้ประตูมีรูปทูตสวรรค์ ถือเปลือกหอย บรรจุน้ำเสก สำหรับผู้เข้า-ออกโบสถ์ ใช้ทำ สำคัญมหากางเขน ตั้งอยู่ทั้ง 2 ข้าง บริเวณเหนือหน้าต่างทุกบานจะมีกระจกสีช่องแสงสวยงาม เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระคัมภีร์เก่าและใหม่ ควบคู่กันไป มองจากภายนอกจะเห็นยอดสูง ซึ่งเป็นหอระฆัง บนยอดปักรูปกางเขนไว้ให้แลดูสง่างาม
 
โบสถ์หลังนี้ก่อสร้างด้วยการก่ออิฐ ถือปืนปูนซึ่งเป็นลักษณะวิธีการก่อสร้างในสมัยนั้น มิใช่การทำเป็นคอนกรีตเสริมเหล็กเช่นปัจจุบันนัยว่า ใช้เวลาก่อสร้างทั้งสิ้น 7 ปี เงินในการก่อสร้าง 7 หมื่น 7 พันบาท ได้ทำการเสกเมื่อเดือนตุลาคม [[ค.ศ. 1897]] ซึ่งในขณะนั้นมีสัตบุรุษ ชาย หญิงทั้งสิ้น ประมาฯประมาณ 600 คน<ref>วัดกาลหว่าร์ - Holy Rosary Church, หน้า 24</ref>
 
== ชื่อโบสถ์ ==