ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Aquapatinth (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Patiwat~thwiki (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ภาพ:Constitution50.jpg|thumb|ปกหนังสือร่างรัฐธรรมนูญ ที่มีการแจกจ่ายตามบ้าน]]
 
'''ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550''' เป็นร่าง[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย|รัฐธรรมนูญ]]ซึ่งร่างโดย[[คณะสภาร่างรัฐธรรมนูญ]]ที่ได้รับแต่งตั้งโดย [[คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ]] กลุ่มทหารที่ได้[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|ยึดอำนาจการปกครองประเทศไทยสำเร็จเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549]] ประกาศให้ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540]] สิ้นสุดลง และประกาศใช้ [[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549]]แทน ร่างรัฐธรรมนูญได้ผ่านการ[[แปรญัตติ]]แล้ว ปัจจุบันมีการแจกจ่ายเผยแพร่ไปยังประชาชนทั่วประเทศ เพื่อจัดให้มี[[การออกเสียงประชามติ]]ในวันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2550]] ตาม การจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นไปตามที่บัญญัติไว้ใน[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549]]
 
ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 ถ้้าร่างรัฐธรรมนูญไม่ผ่านความเห็นชอบในการออกเสียงประชามติ คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ มีสิทธินำรัฐธรรมนูญในอดีตฉบับใดก็ได้ มาดัดแปลงแก้ไข และประกาศใช้
 
พล.อ.[[บุญรอด สมทัศน์]] รัฐมนตรีกลาโหม ได้รัะบุว่า คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ จะไม่จัดการ[[เลือกตั้ง]] ถ้าหากร่างรัฐธรรมนูญของคณะร่างรัฐธรรมนูญ ไม่ผ่านความเห็นชอบในการออกเสียงประชามติ<ref name="Sentinel11Jul07">Asia Sentinel, [http://asiasentinel.com/index.php?option=com_content&task=view&id=574&Itemid=31 Thailand on Spin Cycle], 11 July 2007</ref>
 
== กาีแต่งตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญ ==
ตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549 สภาร่างรัฐธรรมนูญมีหน้าที่จัดร่างรัฐธรรมนูญใหม่ โดยขั้รตอนดังต่อไปนี้
* คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ แต่งตั้ง สมัชชาแหงชาต จำนวน 2,000 คน (มาตรา 22)
* สมัชชาแหงชาต คัดเลือก ผู้มีสิทธิเป็นสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ 200 คน โดยเลือกให้เสร็จภายใน 7 วัน (มาตรา 22)
* คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ กรองผู้มีสิทธิเป็นสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ จาก 200 คน เหลือ 100 คน (มาตรา 22)
* ผู้มีสิทธิเป็นสมาชิกสภารางรัฐธรรมนูญ คัดเลือก สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 25 คน (มาตรา 25)
* คณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ แต่งตั้ง สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ โดยตรง อีกจำนวน 10 คน (มาตรา 22)
 
== ประเด็นข้อเรียกร้อง ==
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้มีบุคคลและองค์กรต่าง ๆ ออกมาเรียกร้องในหลายประเด็น เช่น
* '''การแก้ให้[[สมาชิกวุฒิสภา]]มาจากการแต่งตั้ง แทนทีจะมาจากการเลือกตั้ง''' เดิมในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 สมาชิกวุฒิสภา มาจากการเลือกตั้ง คณะสภาร่างรัฐธรรมนูญได้้แก้ไขให้มาจากการแต่งตั้งโดยกลุ่มทหารและข้าราชกาล นาย [[วิชา มหาคุณ]] อดีตผู้พิพากษา และกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ได้สนับสนุนการแต่งตั้งวุฒิสมาชิก โดยกล่าวว่า "เรารู้กันดีว่ากา่ีรเลือกตั้งเป็นความชั่วร้าย ทำไมชาวบ้านถึงอยากให้เห็นประวัตศาสตร์ซ้ำรอย? ชาวบ้าน และโดยเฉพาะนักวิชาการ ที่อยากให้รัฐธรรมนูญฉบับนี้จะก่อให้เกิด ประชาธิปไตยที่แท้จริง กำลังคิดแบบฝันลอย การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาเป็นปัญหา เหมือนที่เห็นกันในอดีต ดังนั้น ทำไมชาวบ้านไม่อยากให้กลุ่มผู้พิพากษาช่วยเลือกให้?"<ref>The Nation, [http://nationmultimedia.com/2007/04/27/politics/politics_30032854.php Charter drafter pans 'evil' elections], 27 April 2007</ref>
* '''การลดความมั่นคงของ[[ฝ่ายบริหาร]]และระบบ[[พรรคการเมือง]]''' เดิมในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ฝ่ายบริหารที่มาจากการเลือกตั้งมีความมั่นคง และระบบพรรคการเมืองเพิ่มความสำคัญขึ้่น<ref name="Process1">Borwornsak Uwanno and Wayne D. Burns, [http://www.thailawforum.com/articles/constburns1.html The Thai Constitution of 1997 Sources and Process, part 1]</ref><ref name="Process2">Borwornsak Uwanno and Wayne D. Burns, [http://www.thailawforum.com/articles/constburns2.html The Thai Constitution of 1997 Sources and Process, part 2]</ref> คณะสภาร่างรัฐธรรมนูญได้้แก้ไขให้ฝ่ายบริหารและระบบพรรคการเมืองมีความอ่อนแอลง โดยทำให้ยื่นญัตติไม่ไว้วางใจรัฐบาลได้ง่ายขึ้น อนุญาตให้สส.ย้ายพรรคได้ง่ายขึ้น และไม่อนุญาตให้บุคคลใดมีสิทธิืเป็นนายกรัฐมนตรีเกินสามสมัย<ref>The Christian Science Monitor, [[http://www.csmonitor.com/2007/0427/p06s01-woap.html?page=3 Draft Thai constitution draws criticism]], 27 April 2007</ref><ref>IPS, [http://ipsnews.net/news.asp?idnews=37455 New Constitution Regressive Say Critics], 23 April 2007</ref>
* การเสนอให้เปลี่ยนชื่อประเทศไทยเป็นประเทศสยาม โดย [[ชาญวิทย์ เกษตรศิริ|ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ]]
* [[กรณีการเรียกร้องให้บัญญัติคำว่าพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติไทยไว้ในรัฐธรรมนูญ]]