ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวสุรนารี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 14:
เมื่อพุทธศักราช 2369 เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ เป็นกบฏต่อ[[กรุงเทพมหานคร]] ยกกองทัพเข้ามายึดเมือง[[นครราชสีมา]]ได้ แล้วกวาดต้อนครอบครัวชาวนครราชสีมาไป คุณหญิงโม และนางสาวบุญเหลือรวบรวมครอบครัวชาย หญิงชาวนครราชสีมาที่ถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย เข้าต่อสู้ฆ่าฟันทหารลาวล้มตายเป็นอันมาก ณ [[ทุ่งสัมฤทธิ์]] แขวงเมืองนครราชสีมา เมื่อวันที่ 4 มีนาคม พุทธศักราช 2369 ช่วยให้ฝ่ายไทยสามารถกอบกู้เมืองนครราชสีมากลับคืนมาได้ในที่สุด{{อ้างอิง}}
 
เมื่อความทราบไปถึง [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาคุณหญิงโม ขึ้นเป็น '''ท้าวสุรนารี''' เมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม [[พ.ศ. 2370]] เมื่อคุณหญิงโมมีอายุได้ 57 ปี พร้อมกับพระราชทานเครื่องยศ มีต่อไปนี้
* ถาดทองคำใส่เครื่องเชี่ยนหมาก 1 ใบ
* จอกหมากทองคำ 1 คู่
บรรทัด 21:
* คนโท และขันน้ำทองคำอย่างละ 1 ใบ{{อ้างอิง}}
 
เมื่อวันที่ 5 เมษายน [[พ.ศ. 2524]] เวลา 14.00 น. [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] และ[[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ|สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ]] ได้เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] และ[[สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี]] ทรงวางพวงมาลา ณ อนุสาวรีย์ท้าวสุรนารี ในโอกาสนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานบรมราโชวาทมีความตอนหนึ่งว่า
{{คำพูด|....ท้าวสุรนารี เป็นผู้ที่เสียสละเพื่อให้ประเทศชาติได้อยู่รอดปลอดภัย <br />ควรที่อนุชนรุ่นหลัง จะได้ระลึกถึงคุณงามความดีของท่าน<br />บ้านเมืองทุกวันนี้เป็นสิ่งที่ต้องหวงแหน การหวงแหน คือ ต้องสามัคคี<br />รู้จักหน้าที่ ทุกฝ่ายต้องช่วยกัน ชาวนครราชสีมาได้แสดงพลังต้องการ<br />ความเรียบร้อย ความสงบ เป็นปัจจัยสำคัญทำให้ชาติกลับปลอดภัยอีกครั้งหนึ่ง<br /> แม้ว่าสถานการณ์รอบตัวเราและรอบโลก จะผันผวนและ ล่อแหลมมาก <br />แต่ถ้าทุกคนเข้มแข็ง สามัคคี กล้าหาญ และเอื้อเฟื้อต่อกันชาติก็จะมั่นคง....<ref>[http://www.library.nrru.ac.th/rLocal/stories.php?story=01/08/03/9790693 ฐานข้อมูลบุคคลสำคัญ " '''ท้าวสุรนารี''' ", สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา]{{ลิงก์เสีย}}</ref>}}