ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nattakit415 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เรซูเม}}
{{ผู้นำประเทศ
| name = พระช่วงเกษตรศิลปการ <br>(ช่วง โลจายะ)
เส้น 10 ⟶ 9:
| successor = [[เภา เพียรเลิศ บริภัณฑ์ยุทธกิจ]]
| birth_date = 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442
| birth_place = {{flagicon|ประเทศไทย}} บ้านแช่ ตำบลพระประแดง อำเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
| death_date = 1 มกราคม พ.ศ. 2531 (88 ปี)
| death_place =
| party = พรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา
เส้น 20 ⟶ 19:
}}
 
อำมาตย์โท '''พระช่วงเกษตรศิลปการ''' นามเดิม ช่วง โลจายะ ([[20 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2442]] - [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2531]]) บิดาแห่งแม่โจ้ เป็นหนึ่งในผู้ร่วมก่อตั้ง[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]และเคยดำรงตำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัย อดีตรัฐมนตรี[[กระทรวงเกษตราธิการ]] ในสมัยรัฐบาล[[พ.ศ.จอมพล 2492]] - [[พ.ศ. 2494พิบูลสงคราม]] และอดีตเป็นผู้ก่อตั้งและหัวหน้าพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/D/003/20.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จดทะเบียนพรรคการเมืองพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา]</ref>
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:Monument of Phra Chuangkasetsilapakan.jpg|thumb|250px|อนุสาวรีย์พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ) ที่[[อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์]] หน้าอาคารสถาบันเกษตราธิการ [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] [[กรุงเทพมหานคร]]]]
[[ไฟล์:Phachuang.jpg|thumb|250px|อนุสาวรีย์พระช่วงเกษตรศิลปการ (ช่วง โลจายะ)บริเวณสนามวังซ้าย [[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]]]]
'''พระช่วงเกษตรศิลปการ''' นามเดิม ช่วง โลจายะ ([[20 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2442]] - [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2531]]) บิดาแห่งแม่โจ้ ผู้ร่วมก่อตั้ง[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]] อดีตรัฐมนตรี[[กระทรวงเกษตราธิการ]] [[พ.ศ. 2492]] - [[พ.ศ. 2494]] และอดีตผู้ก่อตั้งพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2512/D/003/20.PDF ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จดทะเบียนพรรคการเมืองพรรคสัมมาชีพ-ช่วยชาวนา]</ref>
 
พระช่วงเกษตรศิลปการ มีชื่อเดิมว่า '''ช่วง โลจายะ''' เกิดเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2442 ที่ตำบลพระประแดง [[อำเภอพระประแดง]] [[จังหวัดสมุทรปราการ]] เป็นบุตรของหลวงศรีพลแผ้ว (ขาว โลจายะ) ท่านสำเร็จการศึกษาระดับชั้นประถมจาก[[โรงเรียนวัดทรงธรรม]] และระดับมัธยมจาก[[โรงเรียนมัธยมวัดสุทัศน์]]และ[[โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย]] เมื่อสำเร็จการศึกษาได้เป็นครูประจำโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ก่อนจะได้รับทุนจาก[[กระทรวงธรรมการ]]ให้ศึกษาต่อ ณ ต่างประเทศ โดยท่านได้ศึกษาในระดับปริญญาตรีสาขาการเกษตรที่[[มหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์ ลอส บันยอส]]ตามคำชักชวนของ[[หลวงอิงคศรีกสิการ (อินทรี จันทรสถิตย์)|เอี้ยง จันทรสถิตย์]] ซึ่งศึกษาอยู่ ณ มหาวิทยาลัยเดียวกัน และย้ายไปศึกษาต่อที่[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]]ตามคำสั่งของรัฐบาลไทย จนจบการศึกษาในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทสาขาสัตวบาลจาก[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน แมดิสัน|มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน]] ซึ่งท่านเป็นคนที่สองของประเทศไทยที่จบปริญญาโททางการเกษตรในต่างประเทศถัดจากเอี้ยง จันทรสถิตย์ หรือหลวงอิงคศรีกสิการในเวลาต่อมา
== การศึกษา ==
 
# สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมที่ [[โรงเรียนวัดทรงธรรม]] และ[[โรงเรียนสวนกุหลาบ ]]
ภายหลังจบการศึกษาพระช่วงเกษตรศิลปการได้เข้าทำงานรับราชการครูที่โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม บางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในปี พ.ศ. 2467 ระหว่างที่รับราชการท่านได้รับยศรองอำมาตย์เอกในปี พ.ศ. 2468 ซึ่งต่อมาโรงเรียนได้ย้ายที่ตั้งไปยังอำเภอทับกวางในปี พ.ศ. 2469 พระช่วงเกษตรศิลปการได้ย้ายการทำงานไปยังที่ตั้งใหม่และได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น'''หลวงช่วงเกษตรศิลปการ''' และได้ย้ายไปเป็นครูที่[[โรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์]]ในปี พ.ศ. 2471 และ[[โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย]]ในปี พ.ศ. 2472
# สำเร็จการศึกษาชั้นอุดมศึกษาที่ [[ประเทศฟิลิปปินส์]]
 
# ได้รับทุนไปศึกษาต่อที่[[มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน]] [[สหรัฐอเมริกา]]
ในปี พ.ศ. 2473 พระช่วงเกษตรศิลปการได้ย้ายราชการมาสังกัด[[กระทรวงกลาโหม]]ตามคำขอของกระทรวง โดยดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าแผนกเสบียงสัตว์และผู้อำนวยการสอนวิชากสิกรรมแก่นายทหาร และได้รับพระราชทานเลื่อนบรรดาศักดิ์เป็น '''พระช่วงเกษตรศิลปการ''' ในปี พ.ศ. 2475 และย้ายมาปฏิบัติงานในกรมตรวจกสิกรรมสังกัด[[กระทรวงเกษตรพาณิชยการ]]และได้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ใหญ่ประจำโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรมภาคเหนือ ที่แม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ และเปลี่ยนสถานะเป็นโรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรมภาคเหนือในเวลาต่อมา
 
ในปี พ.ศ. 2481 รัฐบาลได้ทำการยุบโรงเรียนฝึกหัดครูมัธยมวิสามัญเกษตรกรรม พระช่วงเกษตรศิลปการได้ผลักดันให้รักษาโรงเรียนมัธยมวิสามัญเกษตรกรรมภาคเหนือที่แม่โจ้ไว้และจัดตั้งวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ขึ้น โดยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการวิทยาลัย และจัดตั้งตั้งกองวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สังกัดกรมเกษตรและการประมง ต่อมาท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมเกษตรและการประมงในปี พ.ศ. 2482 และมีส่วนร่วมในการก่อตั้ง[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]ร่วมกับ[[หลวงสุวรรณวาจกกสิกิจ]] และ[[หลวงอิงคศรีกสิการ]]
 
หลังจากดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมเกษตรและการประมง พระช่วงเกษตรศิลปการได้ดำรงตำแหน่งสำคัญหลายอย่าง โดยดำรงตำแหน่งเป็นนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในปี พ.ศ. 2491 และได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตราธิการในปี พ.ศ. 2492 เป็นกรรมการอำนวยการธนาคารเกษตรกรในปี พ.ศ. 2495 และเป็นผู้ดูแลนักเรียนไทยในสหรัฐอเมริกาจนกระทั่งเกษียณอายุราชการใน พ.ศ. 2500 ภายหลังจากเกษียณอายุราชการได้ดำรงตำแหน่งนายกสภาสถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ในปี พ.ศ. 2518 เป็นตำแหน่งสุดท้ายของการทำงาน
 
พระช่วงเกษตรศิลปการ เสียชีวิตเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2531
== การทำงาน ==
# [[พ.ศ. 2460]] รับราชการครู[[โรงเรียนสวนกุหลาบ]]
# [[พ.ศ. 2467]] รับราชการครูโรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์
# [[พ.ศ. 2469]] รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงช่วงเกษตรศิลปการ
# [[พ.ศ. 2471]] ย้ายไปเป็นอาจารย์[[โรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์]]
# [[พ.ศ. 2472]] ย้ายไปเป็นอาจารย์[[โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย]]
# [[พ.ศ. 2473]] ช่วยราชการกระทรวงกลาโหม
# [[พ.ศ. 2475]] รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระช่วงเกษตรศิลปการ
# [[พ.ศ. 2476]] เป็นอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม
 
== ผลงาน ==
#* เป็นแรงสำคัญที่ต่อสู้ให้การศึกษาทางเกษตรของไทยคงอยู่
#* ร่วมก่อตั้ง[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
#* ออกพระราชบัญญัติควบคุม[[ต้นสัก]]
#* สร้างป่าสงวน
#* ส่งเสริมให้มีการปลูก[[ปอกระเจา]]
#* นำ[[ปลาหมอเทศ]] จาก[[อินโดนีเซีย]]มาเผยแพร่
#* ส่งเสริมให้ชาวเชียงใหม่ ปลูกพืชไร่ เช่น ยาสูบ ถั่วเหลือง หอมหัวใหญ่ ขยายพันธ์ลำใยพันธ์ดี
#* ก่อตั้งบริษัทฝ้ายไทยเพื่อตรึงราคาฝ้ายให้เกษตรกร
 
== สถานที่ ==
#* [[อนุสาวรีย์สามบูรพาจารย์]] หน้า[[สถาบันเกษตราธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์]]
#* อนุสาวรีย์พระช่วงเกษตรศิลปการ [[มหาวิทยาลัยแม่โจ้]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]
#* อาคารช่วงเกษตรศิลปาการ สำนักหอสมุด [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==