ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (อยู่ ญาโณทโย)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ Thai.2016 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย พุทธามาตย์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
|สถาปนา = [[4 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2506]]
|พระชนนี = จันทน์
|สังกัดนิกาย = [[มหานิกาย]]
|วุฒิ = ป.ธ.๙
|พระอิสริยยศ = สกลมหาสังฆปริณายก
}}
'''สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช''' พระนามเดิม '''อยู่ ช้างโสภา''' ฉายา '''{{ญ}}าโณทโย''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 15 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร]] ดำรงตำแหน่งเมื่อปี [[พ.ศ. 2506]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 2 ปี สิ้นพระชนมเมื่อวันที่ [[15 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2508]] สิริพระชันษา 90 ปีเศษ<ref name="เรื่องตั้ง ๒">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = ''เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL'', = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450|หน้า = 61-70}}</ref>
 
== พระประวัติ ==
=== พระกำเนิด ===
พระองค์สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ มีพระนามเดิมว่า '''อยู่ ช้างโสภา''' (นามสกุลเดิม "[[แซ่ฉั่ว]]")<ref>http://www.dhammathai.org/thailand/sangkharaja15.php</ref> ประสูติเมื่อวันอังคารที่ [[1 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2417]] ที่เรือนแพหน้าวัดกัลยาณมิตร [[อำเภอบางกอกใหญ่]] [[ธนบุรี]] พระชนกชื่อตรุษ พระชนนีชื่อจันทน์<ref name="เรื่องตั้ง ๒"/> ทรงรับการศึกษาเบื้องต้นในสำนักของบิดา และพระอาจารย์ช้างที่[[วัดสระเกศ]]
 
=== อุปสมบท ===
สมเด็จพระสังฆราช (อยู่) ทรงบรรพชาเป็นสารเณรอยู่วัดสระเกศ จนถึงปีมะเมีย พ.ศ. 2437 จึงทรงอุปสมบทเป็นพระภิกษุ โดย[[สมเด็จพระวันรัต (แดง สีลวฑฺฒโน)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ พระธรรมทานาจารย์ (จุ่น) และพระธรรมกิตติ (เม่น) เป็นพระกรรมวาจาจารย์<ref name="เรื่องตั้ง">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = ''เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428}}'', หน้า 266-7</ref>
 
=== การศึกษา ===
บรรทัด 54:
 
== พระกรณียกิจ ==
พระองค์ทรงอุปถัมภ์ส่งเสริมการศึกษาพระปริยัติธรรม ทั้งแผนกบาลี และนักธรรม ให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น เป็นองค์อุปภัมภ์กิตติมศักดิ์ของ[[มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] ตั้งแต่เริ่มเปิดการศึกษาเมื่อปี [[พ.ศ. 2490]] ตลอดมา ทรงบูรณปฏิสังขรณ์ พระบรมบรรพต (ภูเขาทอง วัดสระเกศ) จนสำเร็จเรียบร้อยดังที่เห็นอยู่ปัจจุบัน เป็น[[ปูชนียสถาน]]ที่เริ่มสร้างมาแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นศรีสง่าแก่[[กรุงเทพมหานคร]]มาจวบถึงปัจจุบัน
 
== สิ้นพระชนม์ ==
สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทโย) สิ้นพระชนม์ด้วย[[โรคหลอดเลือดสมอง|พระโรคเส้นพระโลหิตในพระเศียรอุดตัน]] เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2508 เวลา 02.20 น. สิริพระชันษา {{อายุปีและวัน|2417|12|1|2508|5|15}} [[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]]ประกาศให้สถานที่ราชการลดธงครึ่งเสาและข้าราชการไว้ทุกข์ 15 วัน<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2508/D/040/1.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง สมเด็จพระสังฆราชสิ้นพระชนม์], เล่มที่ 82, ตอนที่ 40 ง ฉบับพิเศษ, 15 พฤษภาคม 2508, หน้า 1</ref>
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
; บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450}}
* {{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
เส้น 102 ⟶ 111:
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 9 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:เสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมอง]]