ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้าชุงจง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 51:
 
== ตระกูลยุนเรืองอำนาจ ==
คิมอันโร (김안로, 金安老) ถูกนัมกอนและชิมจองกล่าวหาว่าทุจริตฉ้อราชย์ราษฎร์บังหลวงและถูกเนรเทศไปในปีค.ศ. 1524 ในคใน ค.ศ. 1527 นัมกอนเสียชีวิต ชิมจองได้ขึ้นเป็นอัครเสนาบดีแทน แต่คิมอันโนคิมอันโลจัดฉากการสาปแช่งองค์ชายรัชทายาทด้วยหนู (작서의변, 灼鼠의變) และใส่ร้ายพระสนมคยองบินตระกูลพัคและชิมจองว่าเป็นผู้อยู่เบื้องหลัง ในการวางแผนยกองค์ชายพกซอง (복성군, 福城君) พระโอรสอขงพระสนมคของพระสนมคยองบินเป็นรัชทายาทแทน ชิมจองจึงถูกประหารชีวิตและพระสนมคยองบินกับพระโอรสถูกปลดจากตำแหน่งและเนรเทศ ในค.ศ. 1531 คิมอันโนคิมอันโลได้รับพระราชทานอภัยโทษเพราะการเปิดโปงการสาปแช่งองค์ชายรัชทายาทที่ตนเองจัดฉากขึ้น และได้ยุยงให้พระเจ้าจุงจงทรงสำเร็จโทษอดีตพระสนมและองค์ชายพงซองไปเสียในค.ศ. 1533 แต่คิมอันโนคิมอันโลก็ถูกพระมเหสีมุนจองเปิดโปงคิมอัลโลได้และคิมอันโนคิมอัลโลได้และคิมอันโลก็ถูกเนรเทศและประหารชีวิตในค.ศ. 1537
 
ในปลายรัชสมัยของพระเจ้าจุงจงตระกูลยุนแห่งพาพยอง (파평윤씨, 坡平尹氏) เรืองอำนาจด้วยสายสัมพันธ์กับพระราชวงศ์และได้เป็นพระมเหสีของพระเจ้าจุงจงถึงสองพระองค์ ในค.ศ. 1534 พระมเหสีมุนจองประสูติพระโอรสอีกองค์ให้แก่พระเจ้าจุงจง คือองค์ชายคยองวอน (경원대군, 慶原大君) ทำให้ตระกูลยุนแห่งพาพยองก็แบ่งเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายยุนใหญ่ (대윤, 大尹) นำโดยยุนอิม (윤임, 尹任) พระเชษฐาของพระมเหสีชังกยองและพระปิตาลุขององค์ชายรัชทายาท สนับสนุนองค์ชายรัชทายาทให้ได้เป็นกษัตริย์องค์ต่อไป และฝ่ายยุนเล็ก (소윤, 小尹) นำโดยพระมเหสีมุนจอง และพระเชษฐาอีกสองคนคือ ยุนวอนโน และยุนวอนฮย็อง (윤원형, 尹元衡) สนับสนุนองค์ชายคยองวอน
 
พระเจ้าจุงจงสวรรคตในปีค.ศ. 1544 องค์ชายรัชทายาทที่เป็นพระโอรสของพระมเหสีชังกยองจึงได้ขึ้นครองราชย์ต่อ เป็น [[พระเจ้าอินจงแห่งโชซอน|พระเจ้าอินจง]] (인종, 仁宗) ทำให้ขุนนางฝ่ายยุนใหญ่ขึ้นมามีอำนาจ แต่ก็เป็นเพียงช่วงเวลาอันสั้น พระเจ้าอินโจก็อยู่ในราชสมบัติได้ไม่นาน ก็สวรรคต พระเจ้าจุงจงมีพระสุสานชื่อว่า ''จองนึง'' (정릉, 靖陵)
 
== พระนามเต็ม ==