ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาราศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
 
== ประวัติ ==
ดาราศาสตร์นับเป็นวิชาที่เก่าแก่ที่สุดวิชาหนึ่ง และเป็นวิชาที่น่าสนใจมากอีกด้วย เพราะนับตั้งแต่มีมนุษย์อยู่บนโลก เขาย่อมได้เห็นได้สัมผัสกับ[[สิ่งแวดล้อม]]ตาม[[ธรรมชาติ]]เสมอมา แล้วก็เริ่มสังเกตจดจำและเล่าต่อ ๆ กัน เช่น เมื่อมองออกไปรอบตัวเห็นพื้นดินราบ ดูออกไปไกล ๆ ก็ยังเห็นว่าพื้นผิวของโลกแบน จึงคิดกันว่า[[โลก]]แบน มองฟ้าเห็นโค้งคล้ายฝาชีหรือโดม มีดาวให้เห็นเคลื่อนข้ามศีรษะไปทุกคืน กลางวันมีลูกกลมแสงจ้า ให้[[แสง]] [[สี]] [[ความร้อน]] ซึ่งก็คือ [[ดวงอาทิตย์]] ที่เคลื่อนขึ้นมาแล้วก็ลับขอบฟ้าไป ดวงอาทิตย์จึงมีความสำคัญกับเขามาก
 
การศึกษาดาราศาสตร์ในยุคแรก ๆ เป็นการเฝ้าดูและคาดเดาการเคลื่อนที่ของวัตถุท้องฟ้าเหล่านั้นที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ก่อนยุคสมัยที่[[กล้องโทรทรรศน์]]จะถูกประดิษฐ์ขึ้น มีสิ่งปลูกสร้างโบราณหลายแห่งที่เชื่อว่าเป็นสถานที่สำหรับการเฝ้าศึกษาทางดาราศาสตร์ เช่น [[สโตนเฮนจ์]] นอกจากนี้การเฝ้าศึกษาดวงดาวยังมีความสำคัญต่อพิธีกรรม ความเชื่อ และเป็นการบ่งบอกถึงการเปลี่ยนฤดูกาล ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญต่อสังคมเกษตรกรรมการเพาะปลูก รวมถึงเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงระยะเวลา วัน เดือน ปี<ref>George Forbes (1909) (Free e-book from [[โครงการกูเต็นเบิร์ก|Project Gutenberg]]). [http://www.gutenberg.org/etext/8172 History of Astronomy]. London: Watts & Co.. http://www.gutenberg.org/etext/8172.</ref>
บรรทัด 50:
ดาราศาสตร์วิทยุเป็นการตรวจหาการแผ่รังสีในความยาวคลื่นที่ยาวกว่า 1 [[มิลลิเมตร]] (ระดับมิลลิเมตรถึงเดคาเมตร) <ref name="allen" /> เป็นการศึกษาดาราศาสตร์ที่แตกต่างจากการศึกษาดาราศาสตร์เชิงสังเกตการณ์รูปแบบอื่น ๆ เพราะเป็นการศึกษา[[คลื่นวิทยุ]]ซึ่งถือว่าเป็นคลื่นจริง ๆ มากกว่าเป็นการศึกษาอนุภาค[[โฟตอน]] จึงสามารถตรวจวัดได้ทั้ง[[แอมปลิจูด]]และ[[เฟสของคลื่น]]วิทยุซึ่งจะทำได้ยากกว่ากับคลื่นที่มีความยาวคลื่นต่ำกว่านี้<ref name="allen" />
 
คลื่นวิทยุที่แผ่จากวัตถุดาราศาสตร์จำนวนหนึ่งอาจอยู่ในรูปของการแผ่รังสีความร้อน โดยมากแล้วการแผ่คลื่นวิทยุที่ตรวจจับได้บนโลกมักอยู่ในรูปแบบของ[[การแผ่รังสีซิงโครตรอน]] ซึ่งเกิดจากการที่อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เป็นคาบรอบเส้นแรงสนามแม่เหล็ก<ref name="allen" /> นอกจากนี้สเปกตรัมที่เกิดจาก[[แก๊สระหว่างดาว]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งเส้นสเปกตรัมของ[[ไฮโดรเจน]]ที่ 21 เซนติเมตร จะสามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุ<ref name="shu">F. H. Shu (1982). ''The Physical .......Universe''. Mill Valley, California: University Science Books. ISBN 0-935702-05-9.</ref><ref name="allen" />
 
วัตถุดาราศาสตร์ที่สามารถสังเกตได้ในช่วงคลื่นวิทยุมีมากมาย รวมไปถึง[[ซูเปอร์โนวา]] [[แก๊สระหว่างดาว]] [[พัลซาร์]] และ[[นิวเคลียสดาราจักรกัมมันต์]]<ref name="shu" /><ref name="allen" />
บรรทัด 150:
[[ลมสุริยะ]]เกิดจากอนุภาคของพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ ซึ่งจะแผ่ออกไปจนกระทั่งถึงแนว [[เฮลิโอสเฟียร์|heliopause]] เมื่อลมสุริยะทำปฏิกิริยากับสนามแม่เหล็กของโลก ทำให้เกิด[[แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลน]]และ[[ออโรร่า]] ในตำแหน่งที่เส้นแรงสนามแม่เหล็กโลกไหลเวียนในชั้นบรรยากาศ<ref>D. P. Stern, M. Peredo (2004-09-28). [http://www-istp.gsfc.nasa.gov/Education/Intro.html "The Exploration of the Earth's Magnetosphere"]. NASA. เก็บข้อมูลเมื่อ 2006-08-22.</ref>
 
=== ดาราศาสตร์วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์ ===
[[ไฟล์:Magnetosphere rendition.jpg|thumb|left|260px|การหักเหของ[[ลมสุริยะ]]จากผลของ[[สนามแม่เหล็ก]]ของดาวเคราะห์]]
{{บทความหลัก|วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์}}
บรรทัด 289:
* [http://www.astronomy.com/ วารสารดาราศาสตร์ Astronomy.com] {{en icon}}
* [http://www.hubblesite.org/ เว็บไซต์ทางการ กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล] {{en icon}}
 
* [http://www.myhora.com/astronomy/ แผนที่ดาว] {{th icon}}
* [http://www.myhora.com/astronomy/chart.aspx แผนที่ดาวพิกัดศูนย์สูตร (Equatorial Sky Chart)] {{th icon}}
{{วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ}}
{{การศึกษาดาราศาสตร์}}