ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thai.2016 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
|ภาพ = สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)1.jpg
|ดำรงพระยศ =[[พ.ศ. 2337]] - [[พ.ศ. 2359]]
|สมณุตตมาภิเษกสถาปนา =[[พ.ศ. 2337]]
|สถานที่สถาปนา = [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]
|ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศรี)]]
|ถัดไป = [[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (มี)]]
บรรทัด 18:
|สถิต = [[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]]
|จังหวัด = [[กรุงเทพมหานคร]]
|นิกาย =
|สังกัด =
|วุฒิ =
|succession = [[สมเด็จพระสังฆราช]] พระองค์ที่ 2
}}
'''สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (''' พระนามเดิม '''ศุข)''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 2 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2337]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 23 พรรษาปี สิ้นพระชนม์เมื่อปี [[พ.ศ. 2359]]ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] สันนิษฐานว่า มีพระชนมายุชันษาเกิน 80 ปี
 
พระประวัติในตอนต้นไม่ปรากฏหลักฐาน พระประวัติเมื่อครั้ง[[กรุงธนบุรี]] เป็นพระราชาคณะที่พระญาณสมโพธ อยู่[[วัดมหาธาตุ]] ถึงปี [[พ.ศ. 2323]]เมื่อปลายรัชกาลของ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชกรุงธนบุรี]] และได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น ''[[พระธรรมเจดีย์]]'' ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้รับการโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นที่ ''[[สมเด็จพระวันรัต|พระพนรัตน]]'' อันเป็นตำแหน่งรองสมเด็จพระสังฆราช
'''สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ศุข)''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 2 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] สถิต ณ [[วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2337]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 23 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อปี [[พ.ศ. 2359]]ในรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] สันนิษฐานว่า มีพระชนมายุเกิน 80 ปี
 
พระประวัติในตอนต้นไม่ปรากฏหลักฐาน พระประวัติเมื่อครั้ง[[กรุงธนบุรี]] เป็นพระราชาคณะที่พระญาณสมโพธ อยู่[[วัดมหาธาตุ]] ถึงปี [[พ.ศ. 2323]]เมื่อปลายรัชกาลของ[[สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช]] และได้เลื่อนสมณศักดิ์เป็น พระธรรมเจดีย์ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้รับการโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นที่ พระพนรัตน อันเป็นตำแหน่งรองสมเด็จพระสังฆราช
 
สมเด็จพระสังฆราช (ศุข) ขณะที่ทรงสมณศักดิ์ที่พระพนรัตน ได้เป็นแม่กองชำระพระวินัยปิฎก ในครั้งที่มีการสังคายนา[[พระไตรปิฎก]]ครั้งแรกของกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อปี [[พ.ศ. 2331]] ทรงรอบรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก ทรงจัดระเบียบการสอบพระปริยัติธรรมเพื่อเป็นเปรียญ แบบ 3 ชั้น คือ เปรียญตรี เปรียญโท และเปรียญเอก