ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 11:
== ช่วงเวลา ==
=== ก่อนการประท้วง ===
ก่อนจะเกิดการประท้วงนั้น มีความไม่พอใจของประชาชนเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจถดถอย การเจริญทางเศรษฐกิจหยุดนิ่ง จนกลายเป็นประเทศยากจนที่สุด 20 อันดับแรกสุดของ[[สหประชาชาติ]]<ref name="google">Michael Casey, [http://ap.google.com/article/ALeqM5iofx72HB6-rwZnXsnhgbYbIpkVFQ Monks Put Myanmar Junta in Tight Spot], Associated Press, 21 September 2007.{{dead link|date=November 2012|bot=Legobot}}</ref> สหประชาชาติได้ประณามความเป็นผู้นำของกองทัพในการแก้ปัญหาเศรษฐกิจ และการนำรายได้ของชาติไปใช้ในทางทหาร<ref name="google"/><ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7023548.stm/ The hardship that sparked Burma's unrest] BBC, 2 October 2007 {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20071021051741/http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7023548.stm/ |date=21 October 2007 }}</ref> ใน พ.ศ. 2549 ราคาของสินค้าหลายชนิดในพม่าเริ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งข้าว ไข่ และน้ำมันปรุงอาหาร ซึ่งเพิ่มขึ้น 30–40% เด็ก 1 ใน 3 คนเป็นโรคขาดสารอาหาร ค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการศึกษาจัดอยู่ในกลุ่มที่ต่ำที่สุดในโลก รายได้เฉลี่ยต่ำกว่า 300 เหรียญสหรัฐ กองทัพพม่าดำรงอยู่ในฐานะรัฐซ้อนรัฐ มีความเป็นอยู่ที่ต่างจากส่วนอื่นๆของประเทศ นายพลในกองทัพมีฐานะร่ำรวย ดังที่เห็นในงานแต่งงานของลูกสาวนายพล[[ตันฉ่วย]] ซึ่งสวมเครื่องเพชรที่มีมูลค่าหลายล้านเหรียญสหรัฐ<ref name="bbc">[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7023548.stm The hardship that sparked Burma's unrest] BBC News 2 October 2007</ref><ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/6109356.stm Burma leader's lavish lifestyle aired] BBC, 2 November 2006</ref> ตามรายงานของบีบีซีในวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 มีผู้ประท้วงกลุ่มเล็กออกมาประท้วงเกี่ยวกับราคาสินค้าภายในประเทศ มีผู้ถูกจับ 9 คน ซึ่งเป็นการประท้วงครั้งแรกในรอบสิบปีในย่างกุ้ง
=== เมษายน ===
กองทัพได้จับกุมประชาชน 8 คนเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2550 ที่ออกมาประท้วงในย่างกุ้ง เรียกร้องให้ลดราคาสินค้า ปรับปรุงบริการทางด้านสุขภาพ การศึกษา การประท้วงสิ้นสุดโดยสงบภายใน 70 นาที เมื่อรัฐบาลแสดงเจตนารมณ์ชัดเจนที่จะปราบปรามผู้ประท้วง มีผู้ประท้วง 2 คนได้รับบาดเจ็บ
=== 15 สิงหาคม ปัญหาราคาเชื้อเพลิง ===
ในวันที่ 15 สิงหาคม รัฐบาลได้ยกเลิกเงินอุดหนุนราคาเชื้อเพลิง ทำให้ราคาเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ราคาเพิ่มขึ้นจาก 1.40 เหรียญต่อแกลลอนเป็น 2.80 เหรียญต่อแกลลอน ราคาแก๊สธรรมชาติเพิ่มขึ้น 500% ทำให้ราคาอาหารเพิ่มสูงขึ้น มีประชาชนออกมาประท้วง [[กองทุนการเงินระหว่างประเทศ]]และ[[ธนาคารโลก]]ได้ให้คำแนะนำว่า การเพิ่มเงินอุดหนุนเป็นการเปิดโอกาสให้ใช้ตลาดเสรีในการกำหนดราคาเชื้อเพลิง<ref name="IMF">{{cite web|url=http://www.atimes.com/atimes/Southeast_Asia/IH24Ae03.html |title=Asia Times Online :: Southeast Asia news - Fuel price policy explodes in Myanmar |publisher=atimes.com|accessdate=16 May 2015}}</ref><ref name="IMF2">[http://www.pinr.com/report.php?ac=view_report&report_id=688&language_id=1 The Economic Factors Behind the Myanmar Protests] {{dead link|date=November 2010}}</ref> โดยไม่ได้แนะนำให้ยกเลิกเงินอุดหนุนโดยไม่ประกาศ เชื้อเพลิงนี้ขายโดยบริษัทน้ำมันและแก๊สเมียนมาซึ่งเป็นบริษัทของรัฐ
=== การประท้วงในช่วงเริ่มต้น ===
ในการตอบสนองต่อการเพิ่มราคาน้ำมัน ประชาชนได้เริ่มออกมาประท้วงในวันที่ 19 สิงหาคม.<ref name="google"/> รัฐบาลได้เริ่มจับกุมผู้ประท้วง 13 คน หนังสือพิมพ์ของรัฐ New Light of Myanmar รายงานการกระทำของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการประท้วงทำให้เกิดความวุ่นวายที่เป็นอันตรายต่อสันติภาพและความปลอดภัยของรัฐ<ref name="washingtonpost">Glenn Kessler, [http://www.washingtonpost.com/wp-dyn/content/article/2007/08/22/AR2007082202488_pf.html U.S. Condemns Burmese Arrests Of 13 Dissidents: Sharp Increases in Prices Spur Protests] ''The Washington Post'', 23 August 2007</ref> ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2550 กองทัพพม่าได้เข้ามาปราบปรามการประท้วงโดยสงบใน[[ปะกกกู]] และทำร้ายพระสงฆ์ 3 รูป <ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7010202.stm Q&A: Protests in Burma] BBC, 24 September 2007</ref>ในวันต่อมา พระสงฆ์รุ่นหนุ่มในปะกกกูได้ออกมาเรียกร้องให้กล่าวคำขอโทษภายในวันที่ 17 กันยายน แต่ฝ่ายทหารปฏิเสธ ทำให้มีการประท้วงโดยพระสงฆ์เพิ่มขึ้น พร้อมกับการงดบริการทางศาสนาสำหรับกองทัพ การประท้วงได้แพร่กระจายไปทั่วพม่ารวมทั้งใน[[ย่างกุ้ง]] [[ชิตเว]] ปะกกกู และ[[มัณฑะเลย์]]
 
ในวันที่ 21 – 22 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ผู้เข้าร่วมการประท้วงในวันที่ 19 สิงหาคมถูกค้นบ้านโดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นโดยไม่เตือนล่วงหน้า ผู้ประท้วงถูกจำคุก 1 ปี ตามกฎหมาย 5/96 ในฐานะผู้ก่อกวนความสงบของรัฐ<ref name="August, 2007 Burma"/>
=== การเพิ่มความรุนแรง ===
ในวันที่ 22 กันยายน พระสงฆ์ 2,000 รูป ออกมาเดินขบวนในย่างกุ้งและอีกพันรูปในมัณฑะเลย์ และยังมีการประท้วงในอีก 5 เมือง ขบวนได้เดินผ่านหน้าบ้านของอองซาน ซูจี<ref name="Rangoon">[http://www.cnn.com/2007/WORLD/asiapcf/09/23/myanmar.protest.ap/index.html 20,000 March in Myanmar protest]. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20071012014606/http://www.cnn.com/2007/WORLD/asiapcf/09/23/myanmar.protest.ap/index.html |date=12 October 2007 }}</ref> แม้จะอยู่ระหว่างถูกกักตัว ซูจีได้ออกมาปรากฏกายที่ประตูบ้าน ในวันที่ 23 กันยายน แม่ชี 150 คน เข้าร่วมประท้วงในย่างกุ้ง ในวันนั้น พระสงฆ์ 15,000 รูป ได้ออกมาเดินขบวนประท้วงทหารพม่า พันธมิตรพระสงฆ์พม่าทั้งมวลประกาศจะต่อต้านต่อไป จนกว่ากองทัพพม่าจะสลายตัว
==== 24 กันยายน ====
[[File:2007 Myanmar protests 11.jpg|right|250px|thumb|การประท้วงของพระสงฆ์ในย่างกุ้ง ถือธงพุทธศาสนา]]
ในวันนี้ มีพยานรายงานว่ามีผู้ประท้วงในย่างกุ้ง 30,000 - 100,000 คน<ref name=MONKS-LEAD-LARGEST-PROTEST /><ref>[http://www.cnn.com/2007/WORLD/asiapcf/09/24/myanmar.protest.ap/index.html 100,000 protest Myanmar junta] CNN, 24 September 2007. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080725143642/http://www.cnn.com/2007/WORLD/asiapcf/09/24/myanmar.protest.ap/index.html |date=25 July 2008 }}</ref> การเดินขบวนเกิดขึ้นในเมือง 25 เมืองในพม่า ในวันนี้ รัฐมนตรีกระทรวงศาสนา นายพลทุรา มยินต์ หม่อง ออกมาเตือนพระสงฆ์ให้ยุติการประท้วง<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7010839.stm|title=Burmese military threatens monks |publisher=BBC News | date=24 September 2007 | accessdate=1 January 2010}}</ref>
==== 25 กันยายน ====
[[File:2007 Myanmar protests 4.jpg|thumb|right|250px|ผู้ประท้วงที่พระเจดีย์ชเวดากอง ย่างกุ้ง]]
ในวันนี้ กองทัพได้เริ่มปราบปรามและส่งรถบรรทุกทหารไปยัง[[พระเจดีย์ชเวดากอง]] มีพระสงฆ์ 5,000 รูปและประชาชนเดินขบวนไปยังพระเจดีย์ชเวดากอง<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7013638.stm ''Burmese riot police attack monks''] BBC News, 9 October 2007</ref> มีการประกาศในย่างกุ้งให้ฝูงชนยุติการประท้วง อองซาน ซูจีถูกนำตัวออกจากบ้านไปยังเรือนจำ[[อินเส่ง]]<ref>[http://www.reuters.com/article/wtMostRead/idUSB58859920070925 Myanmar junta sets curfew] Reuters, 25 September 2007.</ref>
=== การปราบปรามของกองทัพ ===
==== 26 กันยายน ====
ในวันที่ 26 กันยายน วิน ไนง์ กลุ่มผู้สนับสนุนประชาธิปไตยถูกจับที่บ้านในย่างกุ้งเมื่อ 2.30 น. หลังจากนำอาหารและน้ำไปให้พระสงฆ์ที่ออกมาประท้วง แต่ถูกปล่อยตัวหลังจากคุมขังไว้ 1 คืน<ref>{{cite web|url=http://afp.google.com/article/ALeqM5gPUjdWUHQY4VeYAGG3zQfGIRAdng|title=Pro-democracy politician arrested in Myanmar| accessdate= 10 April 2009 }}</ref> กองทหารเข้าปืดล้อมพระเจดีย์ชเวดากอง และโจมตีกลุ่มผู้ประท้วง 700 คนด้วย[[แก๊สน้ำตา]]และกระบอง ตำรวจพร้อมโล่และกระบองเข้าขับไล่พระสงฆ์และผู้ประท้วง 200 คนที่ยังเหลืออยู่ในบริเวณใกล้ประตูทางตะวันออกของพระเจดีย์ชเวดากอง ทหารเข้าปิดล้อมบริเวณพระเจดีย์เพื่อป้องกันไม่ให้เข้ามาประท้วงอีก<ref>{{cite news|url=http://www.telegraph.co.uk/news/main.jhtml?xml=/news/2007/09/26/wburma526.xml|title=Burma troops charge monks with batons |work=The Daily Telegraph |location=London | first1=Graeme | last1=Jenkins | first2=Natalie | last2=Paris | date=26 September 2007 | accessdate=22 April 2010}}</ref><ref>[http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/7013638.stm Burma riot police beat back monks] BBC, 26 September 2007.</ref> แต่ล้มเหลว ยัวมีพระสงฆ์ 5,000 รูปประท้วงในย่างกุ้ง บางคนสวมหน้ากากป้องกันแก๊สน้ำตา ในวันนั้น รายงานว่ามีอย่างน้อยมีพระสงฆ์ 3 รูป และผู้หญิง 1 คน ถูกฆ่า เมื่อกลุ่มประชาชนและพระสงฆ์ยังคงประท้วงต่อไป<ref>[http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Today-demonstration.html Over 100,000 people in Rangoon and parts of Burma protest] Mizzima News, 26 September 2007. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080223100615/http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Today-demonstration.html |date=23 February 2008 }}</ref>
==== 27 กันยายน ====
ในวันที่ 27 กันยายน กองทัพได้ปราบปรามผู้ประท้วงอย่างรุนแรง จับกุมพระสงฆ์อย่างน้อย 200 รูปในย่างกุ้ง และมากกว่า 500 รูปทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<ref>[http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Today-demonstration.html Burmese junta raids monasteries, arrests over 200 monks] Mizzima News, 27 September 2007. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080223100615/http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Today-demonstration.html |date=23 February 2008 }}</ref> กองทัพได้เข้าจับกุมพระสงฆ์หลายรูปในย่างกุ้งและจุดชุมนุมในสถานที่สำคัญทางศาสนาต่างๆ มีผู้ประท้วงมากกว่า 50,000 คน ออกมาสู่ท้องถนนในย่างกุ้ง ฝ่ายทหารเตรียมใช้ยาฆ่าแมลงในการฉีดไล่ฝูงชน ซึ่งมีผู้เห็นรถบรรทุกบรรทุกเครื่องจักรและสเปรย์ฉีดยาในตลาดเทียนจีในย่างกุ้ง<ref>[http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Today-demonstration.html Insect spray to be used for crackdown on protesters] Mizzima News, 27 September 2007. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080223100615/http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Today-demonstration.html |date=23 February 2008 }}</ref>
 
ในข่าวต่างๆรายงานว่าทหารได้ประกาศให้ฝูงชนสลายตัว 10 นาทีก่อนจะปราบปรามอย่างรุนแรง<ref>{{cite news|title=Burma troops issue 'extreme action' ultimatum|work=The Daily Telegraph |location=London |date=27 September 2007|url=http://www.telegraph.co.uk/news/main.jhtml?xml=/news/2007/09/27/nosplit/wburma727.xml|accessdate=27 September 2007 | first=Graeme | last=Jenkins| archiveurl= https://web.archive.org/web/20071011165511/http://www.telegraph.co.uk/news/main.jhtml?xml=/news/2007/09/27/nosplit/wburma727.xml| archivedate= 11 October 2007 | deadurl= no}}</ref> สถานีวิทยุเสียงประชาธิปไตยแห่งพม่ารายงานว่าพลเรือน 9 คน รวมทั้งช่างภาพชาวญี่ปุ่น เคนจิ นากาอิ ถูกยิงและถูกฆ่าโดยทหาร<ref>{{cite news|title=Soldater dræber ni i Myanmar|work=[[Politiken]]|date=27 September 2007|url=http://politiken.dk/udland/article386278.ece|accessdate=27 September 2007| archiveurl= https://web.archive.org/web/20071011104338/http://politiken.dk/udland/article386278.ece| archivedate= 11 October 2007 | deadurl= no}}</ref><ref>{{cite news|title=Japansk fotograf dræbt i Myanmar|publisher=[[TV2 (Denmark)|TV2]]|date=27 September 2007|url=http://nyhederne.tv2.dk/article.php/id-8769851.html?forside|accessdate=27 September 2007| archiveurl= https://web.archive.org/web/20071011114147/http://nyhederne.tv2.dk/article.php/id-8769851.html?forside| archivedate= 11 October 2007 | deadurl= no}}</ref> และถูกยึดกล้องถ่ายรูปไป ทหารพม่าได้ยิงเข้าใส่ทั้งยิงขึ้นฟ้าและและยิงใส่ฝูงชนที่ประท้วง มีพยานเห็นผู้ถูกยิงกว่า 100 คน นักเรียนนักศึกษากว่า 300 คนถูกจับกุม หลังจากกองทัพเคลื่อนกำลังเข้าหาฝูงชน มีผู้ประท้วงอย่างสงบ 50,000 คนในอักยับในขณะที่ทหารเข้าควบคุมสถานที่สำคัญรวมทั้งที่ทำการของรัฐบาล
 
ในช่วงเย็น โทรทัศน์ของรัฐบาลพม่ารายงานว่ามีผู้ถูกฆ่า 9 คนในการปราบปรามผู้ประท้วงในย่างกุ้งโดยกองทัพ มีผู้บาดเจ็บเป็นผู้ประท้วง 11 คน และทหาร 31 คน ในวันนี้ มีรายงานอย่างเป็นทางการว่าครอบครัวของ[[ตัน ฉ่วย]]ได้เดินทางออกนอกประเทศ โดยเครื่องบินของครอบครัวลงจอดที่[[เวียงจันทน์]] [[ประเทศลาว]]<ref>[http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/98-Sep-2007.html Than Shwe's family in Laos] Mizzima News, 27 September 2007. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20080103034341/http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/98-Sep-2007.html |date=3 January 2008 }}</ref>
==== 28 กันยายน ====
ในวันนี้กรุงย่างกุ้งเงียบเหงาเพราะประชาชนหวาดกลัวความรุนแรงจากกองทัพ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์ กลอเรีย มากาปากัลป์ ได้เรียกร้องให้พม่าดำเนินการไปตามขั้นตอนประชาธิปไตย ฟิลิปปินส์จะระงับความช่วยเหลือทางการเงินแก่พม่าถ้าไม่ปล่อยตัวอองซาน ซูจี สหรัฐเรียกร้องให้จีนแสดงอิทธิพลต่อพม่า
 
รัฐบาลพม่าพยายามหยุดยั้งการประท้วงโดยตัดการให้บริการอินเทอร์เน็ต ทหารได้มุ่งเป้าในการจับกุมช่างภาพ หลังจากช่างภาพชาวญี่ปุ่นถูกทหารพม่าสังหาร นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ยาซูโอะ ฟุกุดะ ได้ออกมาแสดงความเสียใจต่อการเสียชีวิตและเรียกร้องให้มีการสืบสวนขยายผล อาเซียนได้ถกเถียงกันเรื่องการผลักดันให้ส่งตัวแทนสหประชาชาติเข้าสู่พม่า ในขณะที่สภาความมั่นคงแห่งสหประชาชาติเรียกร้องให้รัฐบาลพม่าใช้ความอดกลั้น
 
มีรายงานว่าทหารจากภาคกลางเริ่มเคลื่อนพลเข้าสู่ย่างกุ้งโดยทหารเหล่านี้มาจากศูนย์บัญชาการภาคกลางที่ตองอูและกองบัญชาการตะวันออกเฉียงใต้ แต่ไม่ทราบเหตุผลแน่ชัดของการเคลื่อนพล.<ref>[http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Demon-28-Sep-%202007.html Troops marching to Rangoon] Mizzima News, 28 September 2007. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20071031011728/http://www.mizzima.com/MizzimaNews/News/2007/Sep/Demon-28-Sep-%202007.html |date=31 October 2007 }}</ref> นายพล หม่อง อเย ซึ่งมีตำแหน่งรองลงมาจากนายพลตัน ฉ่วย<ref name="blogspot">{{cite web|url=http://burmamyanmargenocide.blogspot.com/|title=Burma-Myanmar Genocide| accessdate= 10 April 2009 }}</ref>แสดงความไม่เห็นด้วยกับการปราบปรามผู้ประท้วง และมีแผนจะเข้าพบอองซาน ซูจี บางแหล่งข่าวรายงานว่าหม่อง อเยเตรียมทำรัฐประหารล้มล้างนายพลตัน ฉ่วย และส่งทหารของเขาออกมาคุ้มกันอองซาน ซูจี และมีรายงานว่าทหารบางกลุ่มไม่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามประชาชน<ref>[http://www.newsdeskspecial.co.uk/2007/09/army-mutiny-rep.html Rangoon: ‘army mutiny’ reported] ''The First Post'' Newsdesk special report. {{webarchive |url=https://web.archive.org/web/20071011205659/http://www.newsdeskspecial.co.uk/2007/09/army-mutiny-rep.html |date=11 October 2007 }}</ref>
==== 29 กันยายน ====
มีรายงานเตือนว่ากองทัพอาจจัดการประท้วงต่อต้านการประท้วงที่เกิดขึ้น โดยบังคับให้ประชาชนเข้าร่วม กลุ่มนักกิจกรรม 88 ได้โต้แย้งสหประชาชาติ รวมทั้งสถานทูตสหราชอาณาจักรและสหรัฐในย่างกุ้ง ให้เปิดบริการเว็บไซต์ที่เข้าถึงได้ด้วยไวไฟ เพื่อต่อต้านการบล็อกอินเทอร์เน็ตของรัฐบาล
มีรายงานว่าตัวแทนสหประชาชาติเข้าพบนายพล[[หม่อง อเย]] ผู้บัญชาการคนที่ 2 ของกองทัพ บีบีซีรายงานว่ามีคนหลายร้อยคนถูกจับในย่างกุ้ง มีพยานรายงานว่าผู้ประท้วงถูกล้อมรอบด้วยกองกำลังรักษาความปลอดภัยและประชาชนที่นิยมทหาร ผู้สังเกตการณ์จากสหประชาชาติ อิบราฮิม กัมบารี ได้เดินทางมาถึงย่างกุ้งแล้วเดินทางต่อไปยังเนย์ปยีดอว์ทันทีเพื่อพูดคุยกับนายพลในกองทัพพม่า<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7019556.stm New protests on Rangoon streets] BBC News article.</ref>
 
== ปฏิกิริยาของนานาชาติต่อเหตุการณ์ ==