ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Digital timing diagram"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
Timing diagram ถูกเปลี่ยนชื่อเป็น Digital timing diagram
Manop (คุย | ส่วนร่วม)
จัดรูปแบบ +เก็บกวาดด้วยสคริปต์จัดให้
บรรทัด 1:
{{ชื่ออังกฤษ}}
{{เก็บกวาด}}
[[ภาพ:SPI timing diagram.svg|thumb|แผนผัง SPI]]
'''Timing Diagram''' คือ แผนผังแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของลอจิกเกตต่างๆ โดยจะมีทั้งค่าอินพุท และ เอาต์พุต ของลอจิกเกตนั้นๆ ซึ่งตามแผนผังแล้ว จะแบ่งออกเป็นช่องๆ ถ้าเราดูแนวนอนจะพบว่า แนวนอน คือ เวลา เช่น เวลาที่ t1 , t2 , t3 ,…. ส่วนแนวตั้งนั้นจะเป็นตัวแปรอินพุท และเอาต์พุต ซึ่งค่า เอาต์พุตนั้นจะเปลี่ยนแปลงตามค่าลอจิกเกตที่เรากำหนดมัน
 
'''TimingDigital Diagramtiming diagram''' คือ แผนผังแสดงการเปลี่ยนแปลงสถานะของลอจิกเกตต่างๆ[[ลอจิกเกต]]ต่างๆ โดยจะมีทั้งค่าอินพุทอินพุต และ เอาต์พุต ของลอจิกเกตนั้นๆ ซึ่งตามแผนผังแล้ว จะแบ่งออกเป็นช่องๆ ถ้าเราดูแนวนอนจะพบว่า แนวนอน คือ เวลา เช่น เวลาที่ t1 , t2 , t3 ,…. ส่วนแนวตั้งนั้นจะเป็นตัวแปรอินพุท และเอาต์พุต ซึ่งค่า เอาต์พุตนั้นจะเปลี่ยนแปลงตามค่าลอจิกเกตที่เรากำหนดมัน
 
การอ่านค่าของ Timing Diagram นั้น เราจะอ่านจากซ้ายไปขวา และค่าของตัวอินพุท และ เอาต์พุต นั้น จะมีค่าแค่ 0 กับ 1 เท่านั้น โดยดูจากเส้นในแนวนอน ถ้าอยู่ข้างล่างจะเป็นค่า 0 แต่ถ้าอยู่ข้างบนจะเป็นค่า 1 ซึ่งค่าในแต่ละช่องของอินพุท และเอาต์พุตนั้นจะแตกต่างกันไป
 
 
 
 
และจากการดูแผนผังเวลานั้น เราสามารถนำมาเขียนเป็นตารางค่าความจริง (Truth Table) ได้ และในทางกลับกันเราก็สามารถเขียน Timing Diagram จากตารางค่าความจริงได้
 
 
Timing Diagram มีประโยชน์ คือ สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ ค่าความจริงของลอจิกเกตได้ และยังสามารถใช้ตรวจสอบวงจรดิจิตอลที่เราต่อได้โดยดูจากค่าของเอาต์พุต
 
[[หมวดหมู่:วงจรดิจิตอล]]
{{โครงเทคโนโลยี}}
 
[[en:Digital timing diagram]]