ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเมจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 37:
 
== พระราชประวัติ ==
=== วัยพระเยาว์ ===
[[ไฟล์:Meiji tenno3.jpg|200px|thumb|left|พระบรมฉายาลักษณ์ของจักรพรรดิเมจิในวัย 20 พรรษา]]
จักรพรรดิเมจิเป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ใน จักรพรรดิโคเม (พระราชโอรสองค์ใหญ่สิ้นพระชนม์หลังประสูติไม่นาน) เสด็จพระราชสมภพ ณ [[นครเคียวโตะ]] เมื่อวันที่ [[3 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1852]] เพียง 8 เดือนก่อนกองเรือดำ ของ[[แมทธิว ซี. เพอร์รี|พลเรือจัตวา แมทธิว ซี. เพอร์รี]]แห่ง[[สหรัฐอเมริกา]] จะเดินทางมาถึง[[อ่าวโตเกียว]]และเพียง 2 ปีก่อนที่ สนธิสัญญาอยุติธรรม ฉบับแรกจะมีขึ้น โดยโชกุน[[โทะกุงะวะ โยะชิโนะบุ]] ยอมลงนามร่วมกับนายพลเพอร์รี่ เมื่อปี [[ค.ศ. 1854]]
จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1852 ในตำหนักเล็กๆนอก[[พระราชวังหลวงเคียวโตะ]] มีพระนามว่า '''เจ้าชายมุสึฮิโตะ''' และเมื่อแรกประสูติทรงราชทินนามเป็น '''เจ้าซะชิ''' เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิโคเม (องค์แรกสิ้นพระชนม์ไปก่อน) ส่วนมารดาของพระองค์คือ โยะชิโกะ จากตระกูลนะกะยะมะ ตระกูลข้าราชบริพารตระกูลหนึ่ง โยะชิโกะเป็นนางสนามนางหนึ่งในบรรดานางสนมหลายสิบคนของจักรพรรดิโคเม
 
ในห้วงเวลาที่เจ้าชายมุสึฮิโตะทรงพระเยาว์นั้น เป็นช่วงเวลาที่รัฐบาลโชกุน(ฝ่ายหัวสมัยเก่า) กำลังเผชิญหน้ากับฝ่ายกบฎ(ฝ่ายหัวสมัยใหม่) ทั้งสองฝ่ายต่างก็อยากได้จักรพรรดิมาเป็นพวก แต่พระราชบิดาของพระองค์เลือกที่จะวางตัวเป็นกลางขอแค่ให้พระราชวงศ์ได้อยู่รอดปลอดภัย ชีวิตที่ลำบากยากแค้นในวัยเด็กทำให้เจ้าชายมุสึฮิโตะเป็นเด็กขี้ขลาด ในปี ค.ศ. 1864 ที่ฝ่ายกบฎ[[แคว้นโชชู]]ต่อสู้กับฝ่ายโชกุนจนเสียงปืนใหญ่ดังสนั่นทั่วทั้งวังหลวง ในขณะนั้นเจ้าชายมุสึฮิโตะในวัย 11 ชันษาตกใจถึงกับเป็นลม การที่รัชทายาทอ่อนแอเช่นนี้ได้สร้างความวิตกตระกูลนะกะยะมะอย่างมาก ทำให้พวกเขาเริ่มตระหนักได้ว่าจำเป็นต้องฝึกฝนให้ว่าที่จักรพรรดินั้น "ร่างกายกำยำ จิตใจเหี้ยมหาญ" พวกเขาจึงให้ [[ไซโง ทะกะโมะริ]] ซะมุไรเลื่องชื่อหัวสมัยใหม่มารับหน้าที่พระอาจารย์อบรมสั่งสอนเจ้าชายมุสึฮิโตะ
พระนางโยชิโกะ พระราชมารดา เป็นผู้ที่มีความสำคัญในราชสำนัก และเป็นบุตรีของ[[นะกะยะมะ ทะดะยะซุ]] ประธานองคมนตรี เมื่อยังทรงพระเยาว์สมเด็จพระจักรพรรดิทรง[[ราชทินนาม]]ว่า เจ้าซะชิ (''ซะชิ โนะ มิยะ'') และได้เสด็จไปประทับอยู่ในความดูแลของ[[ตระกูลนะคะยะมะ]] เพราะการดูแลพระราชโอรสและพระราชธิดาถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติว่า ให้มอบหมายเป็นหน้าที่ของตระกูลใหญ่ในวังหลวงตระกูลใดตระกูลหนึ่ง ตระกูลนาคายามะจึงได้เอาธุระดูแลการศึกษาในชั้นต้นของเจ้าชายองค์น้อย
 
หลังไซโงกลายมาเป็นพระอาจารย์ ไซโงได้เปลี่ยนสนามของวังหลวงเป็นลานประลอง เขาอบรมสั่งสอนเจ้าชายมุสึฮิโตะในแบบของนักรบ ทั้งวิชาฟันดาบ, ยิงธนู, ขี่ม้า, มวยปล้ำ เจ้าชายองค์น้อยผู้บอบบางได้เติบใหญ่เป็นนักรบจากการอบรมของไซโง
เมื่อเสด็จขึ้นครองราชย์เป็น[[ประมุขแห่งรัฐ]] ก็ได้ทรงแต่งตั้งให้ [[นิโจ นะริยุกิ]] เป็น[[เซ็สโซและคัมปะกุ|ผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน]] เพื่อถวายคำแนะนำทางการเมือง แต่ดูเหมือนว่าตำแหน่งที่มีอายุการทำงานสั้นๆนี้ เป็นเพียงพิธีการอย่างหนึ่งเท่านั้น เพราะนิโจไม่ได้มีบทบาทต่อพระองค์เท่าไรนัก ยังมีอีกคนที่มีอิทธิพลต่อแนวพระราชดำริในทางรัฐศาสตร์การเมืองและบริหารอีกมาก
 
=== ขึ้นเป็นจักรพรรดิ ===
เมื่อพระชนมายุยังน้อย เจ้าซะชิทรงอยู่ในโลกต่างหากจากโลกภายนอก พระองค์และพระสหายทั้งหลายที่ได้รับการคัดเลือกมาจากเชื้อพระวงศ์และตระกูลขุนนางต่างๆ เช่น[[ไซอนจิ คิมโมะชิ]] ที่จะเข้ามาปกครองวังหลวงในช่วงปลายรัชสมัยไทโช และต้นรัชสมัยโชวะ ได้รับการอบรมจาก[[พระพี่เลี้ยง]] (เนียวกัง) ที่คอยสอดส่องดูแลทั้งกลางวันและกลางคืน
ภายหลังพระราชบิดาได้เสด็จสวรรคตในวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1867 พระองค์ก็ขึ้นครองราชสมบัติในสี่วันให้หลัง หลังจากครองราชย์ได้สองเดือน ในวันที่ 7 เมษายน พระองค์ก็ทรงประกาศพระราชโองการบัญญัติห้าข้อที่ถูกร่างโดยคณะที่ปรึกษาหัวห้าวหน้า ซึ่งถือเป็นพระราชโองการแรกในสมัยเมจิ ส่วนหนึ่งของพระราชโองการดังกล่าวมีดังความ: ''"จงค้นคว้าและรวบรวมวิทยาการทั้งหลายทั่วโลกเพื่อเสริมสร้างรากฐานการปกครองแห่งจักรพรรดิ"''
 
การที่สมเด็จพระจักรพรรดิไม่ได้เสด็จออกนอก[[นครเคียวโตะ|นครหลวงเคียวโตะ]]เลยตั้งแต่ขึ้นครองราชย์ในเดือนมกราคม [[ค.ศ. 1867]] จนกระทั่งได้เสด็จไปยังนคร[[โอซะกะ]]ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1868 ชี้ให้เห็นว่าพระองค์ต้องใช้พระวิริยอุตสาหะยาวนานเพียงใด กว่าจะล่วงพ้นวิสัยทัศน์อันคับแคบของเหล่าข้าราชการในช่วงต้นรัชสมัยไปได้ โลกทัศน์ของพระองค์ขยับขยายอย่างรวดเร็วเมื่อเข้าฤดูใบไม้ร่วงของปี [[ค.ศ. 1868]] หลังจากที่คณะรัฐบาลแห่งสมเด็จพระจักรพรรดิตัดสินใจย้ายเมืองหลวงไปยังนครโตเกียว จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปยังนครหลวงใหม่เป็นครั้งแรก ไพร่พลในขบวนเสด็จครั้งนั้นมีจำนวนถึง 3,300 ชีวิต ระหว่างทางได้ทอดพระเนตรดูผืนน้ำทะเลเป็นครั้งแรกด้วยเช่นกัน เหตุการณ์นี้ทำให้คิโดะ ทะกะโยะชิ ที่โดยเสด็จอยู่ด้วยบันทึกไว้ว่า
ในปี [[ค.ศ. 1860]] เจ้าซะชิได้รับพระราชทานพระนามเป็นเจ้ามุสึฮิโตะ และได้รับการสถาปนาเป็นองค์รัชทายาท ขณะนั้นขุนนางชั้นสูงหลายคน อาทิ [[อิวะกุระ โทะโมะมิ]] และ [[ซันโจ ซะเนะโตะมิ|เจ้าซันโจ ซะเนะโตะมิ]] เป็นผู้ดูแลองค์รัชทายาท ต่อมาขุนนางเหล่านี้ยังเป็นผู้จัดแจงและตระเตรียมราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่างพระองค์กับอิชิโจ ฮะรุโกะ ธิดาใน[[อิชิโจ ทะดะกะ]] เสนาบดีฝ่ายซ้าย ทั้งสองพระองค์ไม่มีพระราชโอรสพระธิดาด้วยกัน แต่มีบันทึกว่า สมเด็จพระจักรพรรดิโปรดที่จะเสด็จไปพบสมเด็จพระจักรพรรดินีแทบทุกวัน เดือนเมษายน [[ค.ศ. 1914]] เมื่อพระนางสรรคตก็ได้รับพระราชทานพระสมัญญานามเป็น[[สมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็ง]]
 
== การปฏิรูปประเทศ ==
อิวะกุระ, ซันโจ กับ[[คิโดะ ทะกะโยะชิ]] แห่ง[[แคว้นโชชู|โชชู]] และคนสำคัญอื่นๆ ในสมัยฟื้นฟูพระราชอำนาจได้ร่วมกันร่างพระราชโองการและพระราชกฤษฎีกาฉบับแรกในรัชสมัยเมจิขึ้น
{{บทความหลัก|การฟื้นฟูเมจิ}}
เช่น สัตยาบันแห่งคณะปฏิรูป ที่ประกาศเมื่อวันที่ [[6 เมษายน]] [[ค.ศ. 1868]] เป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย และมีเนื้อความตอนหนึ่งว่า
=== เจริญรอยตามตะวันตก ===
จักรพรรดิผู้เยาว์วัยได้รับการปลูกฝังจากบุคคลกลุ่มหัวก้าวหน้า บุคคลเหล่านี้ได้ตั้งให้ถวายความรู้แก่จักรพรรดิ เช่นความทันสมัยของเยอรมนี, วัฒนธรรมฝรั่งเศส, กฎหมายเยอรมนี, การเมืองการปกครองของฝรั่งเศส, นายทุนของยุโรปและอเมริกา ผู้ใกล้ชิดพระองค์ต่างจัดหาหนังสือที่กระตุ้นความคิดแบบยุโรปวางไว้บนโต๊ะทรงงานเสมอ ด้วยเหตุนี้เองทำให้จักรพรรดิเมจิทรงตื่นตัวและเปิดรับวัฒนธรรมตะวันตกได้อย่างรวดเร็ว ทรงยกเลิกธรรมเนียมโบราณคร่ำครึอย่าง โกนคิ้วย้อมฟันดำ ทรงกำหนดให้เครื่องแต่งกายชุดสูทแบบตะวันตกเป็นเครื่องแต่งกายทางการ ทรงเป็นผู้นำการรับประทานเนื้อวัวและนมวัวในญี่ปุ่น ประชาชนในโตเกียวหันมาบริโภคเนื้อวัวอย่างจริงจัง จากวันละ 1 ตัวเป็นวันละ 20 ตัว
 
ในวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1878 พระองค์ทรงตัดพระเกษาด้วยองค์เองจนสั้นจนเป็นเรื่องที่ตื่นตะลึงไปทั้งประเทศ และยังออกพระราชโองการ "ตัดผมสั้น ปลดอาวุธ"
{{คำพูด|จงค้นคว้าและรวบรวมวิทยาการทั้งหลายทั่วโลก เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้แก่การปกครองแผ่นดินแห่งเท็นโน}}
 
=== ย้ายเมืองหลวง ===
การที่สมเด็จพระจักรพรรดิไม่ได้เสด็จออกนอก[[นครเคียวโตะ|นครหลวงเคียวโตะ]]เลยตั้งแต่ขึ้นครองราชย์ในเดือนมกราคม [[ค.ศ. 1867]] จนกระทั่งได้เสด็จไปยังนคร[[โอซะกะ]]ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1868 ชี้ให้เห็นว่าพระองค์ต้องใช้พระวิริยอุตสาหะยาวนานเพียงใด กว่าจะล่วงพ้นวิสัยทัศน์อันคับแคบของเหล่าข้าราชการในช่วงต้นรัชสมัยไปได้ โลกทัศน์ของพระองค์ขยับขยายอย่างรวดเร็วเมื่อเข้าฤดูใบไม้ร่วงของปี [[ค.ศ. 1868]] หลังจากที่คณะรัฐบาลแห่งสมเด็จพระจักรพรรดิตัดสินใจย้ายเมืองหลวงไปยังนครโตเกียว จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปยังนครหลวงใหม่เป็นครั้งแรก ไพร่พลในขบวนเสด็จครั้งนั้นมีจำนวนถึง 3,300 ชีวิต ระหว่างทางได้ทอดพระเนตรดูผืนน้ำทะเลเป็นครั้งแรกด้วยเช่นกัน เหตุการณ์นี้ทำให้คิโดะ ทะกะโยะชิ ที่โดยเสด็จอยู่ด้วยบันทึกไว้ว่า
โลกทัศน์ของพระองค์ขยับขยายอย่างรวดเร็วเมื่อเข้าฤดูใบไม้ร่วงของปี [[ค.ศ. 1868]] หลังจากที่คณะรัฐบาลในพระองค์ตัดสินใจย้ายเมืองหลวงไปยังนครเอะโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นโตเกียว จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปยังนครหลวงใหม่เป็นครั้งแรก ไพร่พลในขบวนเสด็จครั้งนั้นมีจำนวนถึง 3,300 ชีวิต ระหว่างทางได้ทอดพระเนตรดูผืนน้ำทะเลเป็นครั้งแรกด้วยเช่นกัน เหตุการณ์นี้ทำให้[[คิโดะ ทะกะโยะชิ]] ที่โดยเสด็จอยู่ด้วยบันทึกไว้ว่า "''ข้าพเจ้าตื้นตันจนมีน้ำตา เมื่อตระหนักว่านี่คือจุดเริ่มต้นแห่งยุคสมัยที่เดชานุภาพจะได้แผ่ไปทั่วโลกอันไพศาล''" ครั้นขบวนเสด็จถึงกรุงโตเกียวในวันที่ 5 พฤศจิกายน พสกนิกรมากมายหลายหมื่นมาเฝ้ารอรับเสด็จอยู่ทั้งสองข้างทาง เพื่อถวายความจงรักภักดี พร้อมกันนั้น พระราชยานประดับรูปไก่ฟ้าทองคำก็เคลื่อนตรงไปยัง[[ปราสาทเอะโดะ]] อดีตที่พำนักของโชกุนที่จะใช้เป็นที่ประทับ อย่างไรก็ตาม ในเดือนมกราคม [[ค.ศ. 1869]] สมเด็จพระจักรพรรดิเสด็จกลับไปยังเคียวโตะเป็นระยะเวลาสั้นๆ ก่อนจะเสด็จมาประทับที่โตกียวเป็นการถาวรในอีก 2 เดือนต่อมา
 
=== นโยบายด้านการศึกษา ===
{{คำพูด|ข้าพเจ้าตื้นตันจนมีน้ำตา เมื่อตระหนักว่านี่คือจุดเริ่มต้นแห่งยุคสมัยที่เดชานุภาพจะได้แผ่ไปทั่วโลกอันไพศาล}}
รัฐบาลเมจิให้ความสำคัญกับการศึกษาอย่างมหาศาล [[ค่าปฏิกรรมสงคราม]]จำนวน 200 ล้านตำลึงซึ่งญี่ปุ่นได้รับมาจาก[[สนธิสัญญาชิโมะโนะเซะกิ]] ส่วนใหญ่ถูกใช้ไปในการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปลายยุคเมจิพบว่ามีประชาชนกว่าร้อยละ 95 ของประเทศที่ได้รับการศึกษา ไม่มีบ้านไหนไม่ได้เรียน ไม่มีคนไหนไม่ได้เรียน เนื่องจากการเรียนเป็นหลักสูตรภาคบังคับตามกฎหมาย ในหลายเมืองต้องใช้ตำรวจบังคับให้เด็กไปโรงเรียนตั้งแต่ 8 นาฬิกาถึง 15 นาฬิกา หากตำรวจพบเด็กวัยเรียนอยู่นอกโรงเรียนในเวลาดังกล่าวจะถูกจับตัวส่งโรงเรียนทันที
 
ครั้นขบวนเสด็จถึงกรุงโตเกียวในวันที่ 5 พฤศจิกายน พสกนิกรมากมายหลายหมื่นมาเฝ้ารอรับเสด็จอยู่ทั้งสองข้างทาง เพื่อถวายความจงรักภักดี พร้อมกันนั้น พระราชยานประดับรูปไก่ฟ้าทองคำก็เคลื่อนตรงไปยัง[[ปราสาทเอะโดะ]] อดีตที่พำนักของโชกุนที่จะใช้เป็นที่ประทับ อย่างไรก็ตาม ในเดือนมกราคม [[ค.ศ. 1869]] สมเด็จพระจักรพรรดิเสด็จกลับไปยังเคียวโตะเป็นระยะเวลาสั้นๆ ก่อนจะเสด็จมาประทับที่โตกียวเป็นการถาวรในอีก 2 เดือนต่อมา
 
== การเมืองการปกครองตอนต้นรัชกาล ==