ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ท้าวบุญเรือง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
หน้าใหม่: {{Infobox Monarch |สี = gold |ภาพ = |พระนาม = บุญเรือง |พระปรมาภิไธย = |วันพระราชสม...
 
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Monarch
|สี = gold
|ภาพ =
|พระนาม = บุญเรือง
|พระปรมาภิไธย =
|วันประสูติ =
|วันพระราชสมภพ =
|วันสวรรคตสิ้นพระชนม์ =
|พระอิสริยยศ = ท้าว
|พระราชบิดา = [[พระเจ้าติโลกราช]]
|พระราชมารดา=
|พระชายา = ไม่ปรากฏพระนาม<ref >{{cite web |url= http://www.sac.or.th/databases/inscriptions/inscribe_detail.php?id=13429 |title= จารึกวัดพวกชอด |author=|date=|work= ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์มหาชน) |publisher=|accessdate= 12 พฤศจิกายน 2559}}</ref>
|พระมเหสี =
|พระราชสวามี =
|พระราชโอรส/ธิดา = [[พญายอดเชียงราย]]
|ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์มังราย|มังราย]]
|ทรงราชย์ =
|พิธีบรมราชาภิเษก =
เส้น 20 ⟶ 19:
|}}
 
'''ท้าวบุญเรือง''' เป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าติโลกราช]] และเป็นพระราชบิดาใน[[พญายอดเชียงราย]] พระมหากษัตริย์ล้านนาพระองค์ที่ 10 แห่งราชวงศ์มังราย
 
== พระราชประวัติ ==
ท้าวบุญเรืองเป็นพระราชโอรสใน[[พระเจ้าติโลกราช]] ท้าวบุญเรืองได้ครองเมืองเชียงรายในฐานะดำรงตำแหน่งเป็นเจ้าราชบุตรซึ่งเป็นอุปราช ท้าวบุญเรืองมีบทบาทในการทำศึกสงครามร่วมกับพระโอรสเพียงพระองค์เดียวคือท้าวยอดเมืองพระราชโอรสหลายครั้ง<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. '''พื้นเมืองเชียงแสน''', หน้า 157</ref>ที่ต่อมาครองราชย์เป็น[[พญายอดเชียงราย]]
 
ท้าวบุญเรืองได้ครองเมืองเชียงรายในฐานะเจ้าราชบุตรซึ่งเป็นอุปราช ท้าวบุญเรืองมีบทบาทในการทำศึกสงครามร่วมกับท้าวยอดเมืองพระโอรสหลายครั้ง<ref>สรัสวดี อ๋องสกุล. ''พื้นเมืองเชียงแสน'', หน้า 157</ref> ในปลายรัชสมัยของพระเจ้าติโลกราชได้การประหารชีวิตบุคคลสำคัญหลายคนที่เคยร่วมศึกกันมา ซึ่งหนึ่งในนั้นคือท้าวบุญเรือง ซึ่งถูกคุมขังที่เมืองน้อย (ปัจจุบันอยู่ใน[[อำเภอปาย]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]])<ref >{{cite web |url= http://www.matichon.co.th/news/444956 |title= พบหม้อใส่แหวนรัตนชาติใน “เมืองน้อย” ที่คุมขังโอรสพระเจ้าติโลกราชผู้ถูกใส่ร้ายจนโดนประหาร |author=|date= 29 มกราคม 2560 |work= มติชนออนไลน์ |publisher=|accessdate= 30 มกราคม 2560}}</ref> ก่อนถูกประหารชีวิตโดยมีความผิด โทษฐานคิดการก่อกบฏกับพระบิดา ผู้ที่เสียใจมากที่สุดคือจากเหตุการณ์ดังกล่าวทำให้ท้าวยอดเมือง ด้วยเหตุนั้นพระองค์เสียพระทัยมากจึงได้สร้างวัดบริเวณตำแหน่งกาลกิณีเมือง ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของเมืองเชียงใหม่<ref>สมโชติ อ๋องสกุล และสรัสวดี อ๋องสกุล. '''วัดในทักษาเมือง''', หน้า 42</ref>
 
== อ้างอิง ==