ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริติชซีลอน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 109:
}}
 
'''บริติชซีลอน''' ({{lang-en|British Ceylon}}) หรือ '''ลังกาของบริเตน''' ([[ภาษาสิงหล{{lang-si|สิงหล:]] බ්‍රිතාන්‍ය ලංකාව}}; {{lang-ta|பிரித்தானிய இலங்கை}}) เป็น[[คราวน์โคโลนี|อาณานิคมในพระองค์]]ของสหราชอาณาจักร ระหว่าง ค.ศ. 1802 ถึง ค.ศ. 1948 บริติชซีลอนคือ[[ประเทศศรีลังกา]]ในปัจจุบัน
 
ในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เกาะลังกาตกอยู่ภายใต้สภาวะสงครามระหว่างโปรตุเกสกับอาณาจักรกัณฏิ ต่อมาเมื่อเนเธอร์แลนด์เมื่เนเธอร์แลนด์สถาปนาเป็น[[สาธารณรัฐดัตช์]] กษัตริย์แห่งกัณฏิได้เจรจาให้ดัตช์เนเธอร์แลนด์เข้ามาช่วยรบต่อต้านโปรตุเกส หลังจากดัตช์เนเธอร์แลนด์เข้ามากำจัดอิทธิพลของโปรตุเกสออกไป บางส่วนของเกาะลังกาก็ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของดัตช์เนเธอร์แลนด์ แม้ว่าดัตช์เนเธอร์แลนด์จะไม่มีอำนาจมากพอถึงขนาดจะสั่งกษัตริย์แห่งกัณฏิได้ แต่ดัตช์เนเธอร์แลนด์เข้าผูกขาดการค้าระหว่างประเทศของเกาะลังกาผ่าน[[บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์|บริษัทอินเดียตะวันออก]]
 
ปลายศตวรรษคริสต์ศตวรรษที่ 18 ดัตช์เนเธอร์แลนด์อ่อนแอลงจากการทำสงครามกับ[[บริเตนใหญ่]] และถูกยึดครองโดยฝรั่งเศสในช่วง[[สงครามปฏิวัติฝรั่งเศส]] ผู้นำของดัตช์เนเธอร์แลนด์ได้ลี้ภัยไปยังกรุง[[ลอนดอน]]และตั้ง[[รัฐบาลพลัดถิ่น]]ขึ้นที่นั่น รัฐบาลดัตช์ ณ กรุงลอนดอนมิอาจบริหารอาณานิคมได้อย่างมีประสิทธิผล จึงได้โอนการปกครองในเกาะลังกาแก่บริเตนใหญ่ในปี ค.ศ. 1796 แม้ว่าจะได้รับเสียงคัดค้านจากชาวดัตช์บางส่วนก็ตาม เมื่อบริเตนใหญ่เข้าครอบครองบางส่วนของเกาะลังกาซึ่งเคยเป็นของดัตช์เนเธอร์แลนด์ บริเตนใหญ่ต้องการขยายเขตอิทธิพลของตนจึงได้เจรจาให้อาณาจักรกัณฏิมาเป็น[[รัฐในอารักขา]]แต่ถูกปฏิเสธ สงครามจึงเกิดขึ้น อย่างไรก็ตามเนื่องจากบริเตนยังติดพันกับ[[สงครามนโปเลียน]]จึงไม่ได้ใส่ใจสงครามในเกาะลังกามากนัก
 
ในปี ค.ศ. 1815 บรรดาขุนนางผู้ใหญ่ของกัณฏิได้ก่อรัฐประหารยึดอำนาจจากพระเจ้าศรีวิกรม ราชสิงหะ (พระองค์ไม่ใช่ชาวสิงหลซึ่งนับถือพุทธ แต่เป็นกษัตริย์จากแคว้นในอินเดียใต้ซึ่งนับถือฮินดู) และนำพระองค์ไปจองจำไว้ บรรดาขุนนางของกัณฏิได้ร่วมกันลงนามสนธิสัญญากับบริเตนในวันที่ 2 มีนาคม ค.ศ. 1815 ยอมรับอำนาจอธิปไตยของบริเตนเหนือเกาะลังกา มีความพยายามซ่อนตัวอดีตพระเจ้าศรีวิกรมจากพวกอังกฤษ แต่ภายหลังพระองค์ถูกอังกฤษจับกุมได้และถูกส่งตัวไปกักบริเวณที่[[รัฐทมิฬนาฑู]]ในอินเดียใต้<ref>[http://www.divaina.com/2010/03/03/feature01.html Kandyan Convention from Divaina]</ref>
 
หลังเข้ามาปกครองเกาะลังกา ชาวอังกฤษพบว่าเกาะแห่งเหมาะสมต่อการปลูกต้นกาแฟ, ต้นชา และต้นยางอย่างมาก กลางศตวรรษที่ 18 บริติชซีลอนก็กลายเป็นแหล่งผลิตชากาแฟที่สำคัญที่สุดของสหราชอาณาจักร สร้างรายได้แก่เกษตรกรท้องถิ่นเป็นอย่างดี การปลูกชากาแฟในบริติชซีลอนเฟื่องฟูมากจนอังกฤษต้องนำแรงงานชาวทมิฬจำนวนมากเข้ามาจากอินเดีย คิดเป็นสัดส่วนราวร้อยละ 10% ของประชากรในบริติชซีลอน อย่างไรก็ตาม แรงงานชาวทมิฬนี้มีสภาพการทำงานย่ำแย่ไม่ต่างจากทาส แตกต่างชาวสิงหลที่ได้รับการปฏิบัติเป็นอย่างดีจากอังกฤษ
 
== อ้างอิง ==