ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมการชเรอดิงเงอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kanchaporn Tantivichitvech (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: {{Infobox scientist|name=Erwin Schrödinger|image=Erwin Schrödinger (1933).jpg|image_size=|birth_name=Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger|birth_date={{birth date|...
 
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox scientist|name=Erwin Schrödinger|image=Erwin Schrödinger (1933).jpg|image_size=|birth_name=Erwin Rudolf Josef Alexander Schrödinger|birth_date={{birth date|df=yes|1887|8|12}}|birth_place=[[Vienna]], [[Austria-Hungary]]|death_date={{death date and age|df=yes|1961|1|4|1887|8|12}}|death_place=Vienna, Austria}}
ในปี 1925 [[แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์]] (Erwin Schrödinger) นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ได้ค้นพบ "สมการชเรอดิงเงอร์" ซึ่งนำมาใช้อธิบายและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ของ[[กลศาสตร์ควอนตัม]]ได้อย่างถูกต้อง สมการชเรอดิงเงอร์เป็น[[สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย]]ที่เชื่อมโยงกับ[[สมมติฐานของเดอบรอยย์]]  (De Broglie hypothesis) ที่ว่า 'อนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นได้'<ref>นรา จิรภัทรมล. (2553). กลศาสตร์ควอนตัม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.หน้า 19-31</ref> ชเรอดิงเงอร์ได้วิเคราะห์ว่าสมการการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนควรจะคล้ายกับสมการคลื่น และเรียกสมบัติของอิเล็กตรอนหรืออนุภาคอื่นว่า "[[ฟังก์ชันคลื่น]]" (Wave function) โดยสามารถแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของอนุภาคได้ จากการค้นพบสมการชเรอดิงเงอร์ทำให้[[แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์]]ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี 1933<ref>พยงค์ ตันศิริ. (2525). คลื่นและฟิสิกส์ควอนตัมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 231-241.</ref>