ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สุลักษณ์ ศิวรักษ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มเติมแก้ไขและใส่อ้างอิงให้ถูกต้อง
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 43:
* [[รางวัลอัลเทอร์เนทีฟโนเบล]] – โนเบลทางเลือก หรือ รางวัลสัมมาอาชีวะ [[พ.ศ. ๒๕๓๘]] จาก[[รัฐสภาสวีเดน]]
* รางวัล[[มิลเลนเนียมคานธี]] หรือ รางวัลเพื่อสันติภาพ ประจำปี [[พ.ศ. ๒๕๔๔]] จาก[[วิทยาลัยพิชวิทยาปริต]] [[ประเทศอินเดีย]]
* ได้รับการคัดเลือกให้ดำรงตำแหน่ง Eugene M. Lang ศาสตราจารย์เพื่อการเปลี่ยนแปลงสังคม ประจำปี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ จาก[[วิทยาลัยสวาตมอร์]] (Swarthmore College) ประเทศสหรัฐอเมริกา<ref>http://www.swarthmore.edu/lang-center-civic-social-responsibility/eugene-m-lang-38-visiting-professorship-issues-social-change</ref>
* ได้รับเชิญให้เป็นปาฐกในปาฐกถา เอวาและ[[ไลนัส พอลิง]]เพื่อสันติภาพโลก (Ava Helen and Linus Pauling Memorial Lecture for World) ประจำปีพ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งพอลิง เป็นผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีและสาขาสันติภาพ ณ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอเรกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา<ref>http://liberalarts.oregonstate.edu/main/pauling-memorial/lectures</ref><ref>http://oregonstate.edu/ua/ncs/archives/2003/apr/buddhist-activist-sivaraksa-give-osu-pauling-peace-lecture</ref>
* ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาโลกแห่งอนาคต (World Future Council) ซึ่งเป็นองค์กรทำงานด้านนโยบายในการพัฒนาอย่างยั่งยืน มีที่ตั้งอยู่ ณ [[ประเทศเยอรมนี]]<ref>https://www.worldfuturecouncil.org/p/sulak-sivaraksa/</ref>
*ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากสถาบันการศึกษาชั้นสูงแห่งธิเบต โดย[[ทะไลลามะที่ 14|ทะไลลามะ]] ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ (ผู้ได้รับดุษฎีบัณฑิตในปีนั้นอีกคนคือ อดีตประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินเดีย [[อับดุล กลาม]])<ref>http://www.phayul.com/news/tools/print.aspx?id=19397&t=1</ref>
*ได้รับเชิญเป็นหนึ่งในคณะตุลาการศาลประชาชน (The Permanent People’s Tribunal) ในการพิพากษาการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวทมิฬใน[[ประเทศศรีลังกา|ศรีลังกา]]<ref>http://permanentpeoplestribunal.org/the-permanent-peoples-tribunal-will-be-conducting-a-peoples-tribunal-on-the-war-in-sri-lanka-and-its-aftermath-in-dublin-in-january-2010/</ref>
*ได้รับรางวัล[[นิวาโนเพื่อสันติภาพ]] (Newano Peace Prize) - โนเบลสันติภาพแห่งเอเชีย จากมูลนิธินิวาโน ประเทศญี่ปุ่น ประจำปีพ.ศ. ๒๕๕๔<ref>http://www.npf.or.jp/english/peace_prize/npp_recipients/28th.html</ref>
* ได้รับ[[รางวัลสุรินทราชา]] หรือ [[รางวัลนักแปลดีเด่นแห่งชาติ]] ประจำปี [[พ.ศ. ๒๕๕๕]] แต่ปฏิเสธไม่รับรางวัลดังกล่าว
* ได้รับ [[รางวัลนราธิป]] ประจำปี [[พ.ศ. ๒๕๕๖]] จาก[[สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย]] แต่ปฏิเสธไม่รับรางวัลดังกล่าว
* ได้รับเชิญจากสภาเศรษฐกิจโลกให้เป็นผู้ร่วมอภิปรายในเวทีศาสนา โดยหนึ่งในวิทยากรคือ Lawrence Krauss นักวิทยาศาสตร์ชาวสหรัฐอเมริกาที่มีชื่อเสียง ณ เมืองเดวอส ประเทศสวิสเซอร์แลนด์<ref>https://www.weforum.org/people/sulak-sivaraksa/</ref>
* ได้รับรางวัล[[จัมนาลา บาลัช]] (Jamnalal Bajaj) ประเภทผู้ส่งเสริมคุณค่าของ[[มหาตมา คานธี]] ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๗ รับมอบจากประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอินเดีย<ref>http://www.jamnalalbajajfoundation.org/awards/archives/2014/international/sulak-sivaraksa</ref>
* [[ศาสตราจารย์พิเศษ]]ที่ [[มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย]] , [[มหาวิทยาลัยฮาวาย]] และ[[มหาวิทยาลัยคอร์แนล]] [[สหรัฐอเมริกา]]