ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บริเวณความกดอากาศต่ำ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1:
[[Fileไฟล์:Low pressure system over Iceland.jpg|thumb|right|250 px|การหมุนทวนเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกเหนือ บริเวณเหนือประเทศไอซ์แลนด์]]
{{ความหมายอื่น|สำหรับ=บริเวณความกดอากาศ|ดูที่=ระบบความดันอากาศ}}
[[Fileไฟล์:Southern hemisphere extratropical cyclone.jpg|thumb|250 px|การหมุนตามเข็มนาฬิกาของบริเวณความกดอากาศต่ำในซีกโลกใต้(ในภาพเป็นบริเวณทางใต้ของประเทศออสเตรเลีย) บริเวณจุดศูนย์กลางมักจะเป็นบริเวณที่มีค่าความกดอากาศต่ำสุด]]
'''บริเวณความกดอากาศต่ำ''' หรือ '''หย่อมความกดอากาศต่ำ''' ({{lang-en|Low-pressure area}}) คือ บริเวณที่มีค่า[[ความกดอากาศ]]ต่ำจากการเปรียบเทียบกับบริเวณรอบโดยรอบ การเกิดความกดอากาศต่ำ เกิดจากการที่มวลของอากาศได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ มวลอากาศจะยกตัวสูงขึ้นทำให้ความกดอากาศบริเวณนั้นมีค่าลดลง
 
บรรทัด 7:
 
==สภาพอากาศที่เกี่ยวข้อง==
ลมที่เกิดขึ้นจากการเคลื่อนที่ของมวลอากาศ เคลื่อนที่จากบริเวณความกดอากาศสูงไปยังบริเวณความกดอากาศต่ำ<ref>BWEA (2007). [http://www.bwea.com/edu/wind.html Education and Careers: What is wind?] British Wind Energy Association. Retrieved on 2009-02-16.</ref> ปรากฎปรากฏการ์ณนี้เกิดมาจากความแตกต่างของความหนาแน่น อุณหภูมิ หรือความชื้น บริเวณความกดอากาศสูงมวลอากาศจะมีความเย็นและแห้งซึ่งมวลอากาศที่มีความหนาแน่นนี้จะเคลื่อนที่ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่าหรือมีความชื้น ยิ่งมีความแตกต่างมากเท่าใด ความแรงของลมก็จะเพิ่มมากยิ่งขึ้นเท่านั้น<ref name="jet">JetStream (2008). [http://www.srh.noaa.gov/jetstream//synoptic/wind.htm Origin of Wind.] National Weather Service Southern Region Headquarters. Retrieved on 2009-02-16.</ref>
 
เนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของโลก การเคลื่อนที่ของลมที่เกิดจากความแตกต่างของความกดอากาศในซีกโลกเหนือจะเป็นการหมุนทวนเข็มนาฬิกา และ หมุนตามเข็มนาฬิกาในซีกโลกใต้