ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภิกษุณี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Karaniyametta (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูล การอุปสมบทภิกษุณีสายเถรวาทที่ศรีลังกา
ห้ามคัดลอก
บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|ปรับภาษา=yes|ไม่เป็นกลาง=yes|จัดรูปแบบ=yes|ล้าสมัย=yes<!--ไม่อัปเดตหลาย ๆ เรื่อง เช่น การเข้าชื่อแก้ พ.ร.บ. คณะสงฆ์ ขอให้ยอมรับภิกษุณีในไทย เป็นต้น-->}}
 
{{พุทธศาสนา}}
'''ภิกษุณี''' ([[บาลี]]: ''{{lang-pi|ภิกฺขุณี''}}; [[สันสกฤต]]: ''{{lang-sa|ภิกฺษุณี''; [[ภาษาจีน|จีน]]: 比丘尼}}) เป็นคำใช้เรียกนักบวช[[นักพรตหญิง ]]ในพระ[[ศาสนาพุทธศาสนา]] คู่กับ [[ภิกษุ]] ที่หมายถึงนักบวช[[นักพรต]]ชายในพระพุทธศาสนา คำว่า ภิกษุณี เป็นศัพท์ที่มีเฉพาะใน[[พระพุทธศาสนา]] โดยเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่ใช้เรียกนักบวชในศาสนาอื่น
 
ภิกษุณี หรือ ภิกษุณีสงฆ์ จัดตั้งขึ้นโดยพระบรมพุทธานุญาต ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือ[[พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี]] โดยวิธีรับคุรุธรรม 8 ประการ ในคัมภีร์[[เถรวาท]]ระบุว่าต่อมาในภายหลังพระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทภิกษุณีให้มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น จนศีลของพระภิกษุณีมีมากกว่าพระภิกษุ โดยพระภิกษุณีมีศีล 311 ข้อ ในขณะที่พระภิกษุมีศีลเพียง 227 ข้อเท่านั้น เนื่องจากในสมัย[[พุทธกาล]]ไม่เคยมี[[ศาสนา]]ใดอนุญาตให้ผู้หญิงเข้ามาเป็นนักบวชมาก่อน และการตั้งภิกษุณีสงฆ์ควบคู่กับภิกษุสงฆ์อาจเกิดข้อครหาที่จะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อการประพฤติพรหมจรรย์และพระพุทธศาสนาได้ หากได้บุคคลที่ไม่มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาเข้ามาเป็นนักบวช
'''ภิกษุณี''' ([[บาลี]]: ''ภิกฺขุณี''; [[สันสกฤต]]: ''ภิกฺษุณี''; [[ภาษาจีน|จีน]]: 比丘尼) เป็นคำใช้เรียกนักบวชหญิง ในพระ[[พุทธศาสนา]] คู่กับ [[ภิกษุ]] ที่หมายถึงนักบวชชายในพระพุทธศาสนา คำว่า ภิกษุณี เป็นศัพท์ที่มีเฉพาะใน[[พระพุทธศาสนา]] โดยเป็นศัพท์บัญญัติที่ใช้เรียกนักบวชหญิงในพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ ไม่ใช้เรียกนักบวชในศาสนาอื่น
 
ภิกษุณี หรือ ภิกษุณีสงฆ์ จัดตั้งขึ้นโดยพระบรมพุทธานุญาต ภิกษุณีรูปแรกในพระพุทธศาสนาคือ[[พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี]] โดยวิธีรับคุรุธรรม 8 ประการ ในคัมภีร์[[เถรวาท]]ระบุว่าต่อมาในภายหลังพระพุทธเจ้าได้ทรงอนุญาตวิธีการอุปสมบทภิกษุณีให้มีรายละเอียดเพิ่มมากขึ้น จนศีลของพระภิกษุณีมีมากกว่าพระภิกษุ โดยพระภิกษุณีมีศีล 311 ข้อ ในขณะที่พระภิกษุมีศีลเพียง 227 ข้อเท่านั้น เนื่องจากในสมัย[[พุทธกาล]]ไม่เคยมี[[ศาสนา]]ใดอนุญาตให้ผู้หญิงเข้ามาเป็นนักบวชมาก่อน และการตั้งภิกษุณีสงฆ์ควบคู่กับภิกษุสงฆ์อาจเกิดข้อครหาที่จะเป็นอันตรายร้ายแรงต่อการประพฤติพรหมจรรย์และพระพุทธศาสนาได้ หากได้บุคคลที่ไม่มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาเข้ามาเป็นนักบวช
 
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไม่ปรากฏว่ามีการตั้งวงศ์ภิกษุณีเถรวาทขึ้นใน[[ประเทศไทย]] อย่างไรก็ตามในประเทศพุทธเถรวาทที่เคยมี{{fn|2}}หรือไม่เคยมีวงศ์ภิกษุณีสงฆ์ในปัจจุบัน{{fn|3}} ต่างก็นับถือกันโดยพฤตินัยว่าการที่[[อุบาสิกา]]ที่มีศรัทธาโกนศีรษะนุ่งขาวห่มขาว ถือปฏิบัติศีล 8 ([[อุโบสถศีล]]) ซึ่งเรียกโดยทั่วไปว่า [[แม่ชี]] เป็นการผ่อนผันผู้หญิงที่ศรัทธาจะออกบวชเป็นภิกษุณีเถรวาท แต่ไม่สามารถอุปสมบทเป็นภิกษุณีเถรวาทได้<ref>'''เทวประภาส มากคล้าย เปรียญ.'''. เอกสาร : ''เอกสารแนะนำวัดคุ้งตะเภา''. [[อุตรดิตถ์]] : [[วัดคุ้งตะเภา]], 2549.</ref> โดยส่วนใหญ่แม่ชีเหล่านี้จะอยู่ในสำนักวัดซึ่งแยกเป็นเอกเทศจากกุฎิสงฆ์
 
ภิกษุณีสาย[[เถรวาท]]ซึ่งสืบวงศ์มาแต่สมัย[[พุทธกาล]]ด้วยการบวชถูกต้องตาม[[พระวินัยปิฎก]]เถรวาท ที่ต้องบวชในสงฆ์สองฝ่ายคือทั้ง[[ภิกษุสงฆ์]] และภิกษุณีสงฆ์ ได้ขาดสูญวงศ์ (ไม่มีผู้สืบต่อ) มานานแล้ว คงเหลือแต่ภิกษุณีฝ่าย[[มหายาน]] ([[อาจริยวาท]]) ที่ยังสืบทอดการบวชภิกษุณีแบบมหายาน (บวชในสงฆ์ฝ่ายเดียว) มาจนปัจจุบัน ซึ่งจะพบได้ใน[[ประเทศจีน]], [[เกาหลีใต้]], ญี่ปุ่น และ[[ศรีลังกา]]{{fn|1}}
 
ปัจจุบันมีการพยายามรื้อฟื้นการบวชภิกษุณีในฝ่ายเถรวาท โดยทำการบวชมาจากภิกษุณีมหายาน และกล่าวว่าภิกษุณีฝ่ายมหายานนั้น สืบวงศ์ภิกษุณีสงฆ์มาแต่ฝ่ายเถรวาทเช่นกัน<ref>[http://www.thaibhikkhunis.org/index.php?option=com_content&task=blogsection&id=5&Itemid=21 บทความ ''ภิกษุณีมีไม่ได้ - วาทกรรมที่ต้องตรวจสอบ'' จากเว็บไซต์ '''วัตรทรงธรรมกัลยาณี''' ]</ref> แต่มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าฝ่ายมหายานมีการบวชภิกษุณีสืบวงศ์มาโดยมิได้กระทำถูกตาม[[พระวินัยปิฎก]]เถรวาท และมีศีลที่แตกต่างกันอย่างมากด้วย ทำให้มีการไม่ยอมรับภิกษุณี (เถรวาท) ใหม่ ที่บวชมาแต่มหายานว่า มิได้เป็นภิกษุณีที่ถูกต้องตามพระวินัยปิฎกเถรวาท และมีการยกประเด็นนี้ขึ้นเป็นข้ออ้างว่าพระพุทธศาสนาจำกัดสิทธิสตรีด้วย ซึ่งเป็นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน เพราะพระพุทธเจ้าได้อนุญาตให้มีภิกษุณีที่นับเป็นการเปิดโอกาสให้มีนักบวชหญิงเป็นศาสนาแรกในโลก เพียงแต่การสืบทอดวงศ์ภิกษุณีได้สูญไปนานแล้ว จึงทำให้ในปัจจุบันไม่สามารถบวชสตรีเป็นภิกษุณีตามพระวินัยเถรวาทได้
เส้น 16 ⟶ 14:
[[ไฟล์:Bhikkhuni.jpg|thumb|150px|left|ภาพวาดพระ[[พุทธประวัติ]] ตอนพระนางปชาบดีโคตมีทูลขอบวชเป็นพระภิกษุณี]]
[[ไฟล์:Bhikkhuni 01.jpg|left|thumb|150px|รูปหล่อ'''พระนางมหาปชาบดีโคตมีเถรี''' วัดเทพธิดาราม สมัย[[รัตนโกสินทร์]]ตอนต้น]]
ในสมัย[[พุทธกาล]]นั้น แรกเริ่มแต่เดิมที [[สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธโคตมพุทธเจ้า]]ไม่ทรงอนุญาตให้มีภิกษุณีได้ เนื่องจากเห็นว่าจะทำให้อายุของพระพุทธศาสนาไม่ยั่งยืน<ref>[http://www.84000.org/one/2/00.html ความหมายและความเป็นมาของภิกษุณีในเว็บไซต์ 84000.org]</ref>
 
ต่อมา '''[[พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี]]''' ผู้เป็นพระน้านางและพระมาตุจฉา หรือพระมารดาเลี้ยงของ[[เจ้าชายสิทธัตถะ]] ท่านได้มีศรัทธาอยากออกบวชจึงทูลอ้อนวอนขอบวชต่อพระพุทธเจ้าถึงสามครั้งสามครา แต่ก็ไม่เป็นผล จนกระทั่งพระอานนท์ได้ทูลขอให้ พระพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาต โดยมีเงื่อนไขว่า พระนางปชาบดีโคตมีจะต้องรับเอา[[ครุธรรมแปดประการ]]แปดประการ (แปลว่าข้อปฏิบัติที่หนักและทำได้ยาก) ไปปฏิบัติ
ในสมัย[[พุทธกาล]]นั้น แรกเริ่มเดิมที [[สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า]]ไม่ทรงอนุญาตให้มีภิกษุณีได้ เนื่องจากเห็นว่าจะทำให้อายุของพระพุทธศาสนาไม่ยั่งยืน<ref>[http://www.84000.org/one/2/00.html ความหมายและความเป็นมาของภิกษุณีในเว็บไซต์ 84000.org]</ref>
 
ดังนั้นภิกษุณีที่ทรง[[อุปสมบท]]ให้องค์แรกได้แก่ '''พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี''' ซึ่งบวชเป็น'''ภิกษุณีรูปแรกในโลก'''ด้วยการรับ '''ครุธรรมแปดประการ''' (ท่านเป็นรูปเดียวที่บวชด้วยวิธีเช่นนี้)
ต่อมา '''[[พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี]]''' ผู้เป็นพระน้านางและพระมาตุจฉา หรือพระมารดาเลี้ยงของ[[เจ้าชายสิทธัตถะ]] ท่านได้มีศรัทธาอยากออกบวชจึงทูลอ้อนวอนขอบวชต่อพระพุทธเจ้าถึงสามครั้งสามครา แต่ก็ไม่เป็นผล จนกระทั่งพระอานนท์ได้ทูลขอให้ พระพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาต โดยมีเงื่อนไขว่า พระนางปชาบดีโคตมีจะต้องรับเอา[[ครุธรรมแปดประการ]] (แปลว่าข้อปฏิบัติที่หนักและทำได้ยาก) ไปปฏิบัติ
 
ดังนั้นภิกษุณีที่ทรง[[อุปสมบท]]ให้องค์แรกได้แก่ '''พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี''' ซึ่งบวชเป็น'''ภิกษุณีรูปแรกในโลก'''ด้วยการรับ '''ครุธรรมแปดประการ''' (ท่านเป็นรูปเดียวที่บวชด้วยวิธีเช่นนี้)
 
ต่อมาพระพุทธองค์ได้ทรงวางหลักเกณฑ์ในการรับผู้ประสงค์จะบวชเป็นภิกษุณี และวางวินัยของภิกษุณีไว้มากมาย เพื่อกลั่นกรองผู้ที่ประสงค์จะบวชและมีศรัทธาจริง ๆ <ref>[http://larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/010267.htm เหตุผลของพระพุทธองค์ในการเข้มงวดวินัยในภิกษุณี.ลานธรรมเสวนา]</ref>เช่น ภิกษุณี เมื่อบวชแล้วต้องถือศีลถึง '''311 ข้อ''' มากกว่าพระภิกษุ<ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_page/ พระไตรปิฏก เล่มที่ ๓ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๓ ภิกขุณีวิภังค์ '''ต้นวินัยบัญญัติ ๓๑๑ ข้อ ของภิกษุณี''']</ref> ซึ่งถือศีลเพียง '''227 ข้อ''' (วินัยของภิกษุณีที่มีมากกว่าพระภิกษุ เพราะผู้หญิงมีข้อปลีกย่อยในการดำรงชีวิตมากกว่าผู้ชาย เช่น ต้องมีผ้ารัดถัน (ผ้ารัดอก) ซึ่งผู้ชายไม่จำเป็นต้องมี เป็นต้น) <ref>[http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/r.php?B=3&A=6526&w=%C3%D1%B4%B6%D1%B9 พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๓ ภิกขุนีวิภังค์ สิกขาบทวิภังค์ ปาจิตติยวรรค ที่ ๙ ฉัตตุปาหนวรรค สิกขาบทที่ ๑๓]</ref>
เส้น 36 ⟶ 33:
== การสูญวงศ์ของภิกษุณีฝ่ายเถรวาท ==
[[ไฟล์:BuddhistMonk01a.jpg|thumb|150px|ปัจจุบันผู้หญิงผู้ศรัทธาออกบวชในฝ่าย[[เถรวาท]]นิยมโกนหัวนุ่งขาวห่มขาวถือ[[ศีลอุโบสถ]]บวชเป็น [[แม่ชี]] แทน]]
ก่อนที่ภิกษุณี[[สงฆ์]]จะหมดไปจาก[[ประเทศอินเดีย]]นั้น [[พระเจ้าอโศกมหาราช]]ทรงส่งพระธรรมทูตออกไป 9 สาย 1 ในนั้นคือ '''พระมหินทรเถระ''' ผู้เป็นพระราชโอรสของพระองค์เอง ในสายพระมหินทรเถระนี้ไป[[ศรีลังกา]] การเผยแพร่ศาสนาพุทธประสบความสำเร็จอย่างดียิ่ง พระนางอนุลา น้องสะใภ้ของ[[กษัตริย์]]ศรีลังกา ทรงอยากผนวช จึงนิมนต์ '''พระนางสังฆมิตตาเถรี''' พระธิดาของพระเจ้าอโศก มาเป็นปวัตตินีให้ ''("[[ปวัตตินี]]" คือพระ[[อุปัชฌาย์]]ที่เป็นผู้หญิง) ''
 
จาก[[ประเทศศรีลังกา]] ภิกษุณีสงฆ์ได้ไปสืบสายไว้ใน[[จีน]] [[ไต้หวัน]] และอื่น ๆ อีกมาก จนกระทั่ง[[พุทธศาสนา]]ที่อินเดียและศรีลังกาเสื่อมลงลงไปในช่วงหลัง ทำให้ภิกษุณีฝ่ายเถรวาทซึ่ง'''มีศีลและข้อปฏิบัติที่ยุ่งยาก'''ไม่สามารถรักษาวงศ์ของภิกษุณีเถรวาทไว้ได้ จึงทำให้'''ไม่มีผู้สืบทอดการบวชเป็นภิกษุณีสายเถรวาทในปัจจุบัน'''
 
== การพยายามรื้อฟื้นภิกษุณีสายเถรวาทในปัจจุบัน ==
ในปัจจุบัน มีความเชื่อว่ายังมีภิกษุณีสาย[[เถรวาท]]เหลืออยู่ และอ้างหลักฐานยืนยันว่าภิกษุณีทางสาย[[มหายาน]] [[วัชรยาน]]นั้นสืบสายไปจากภิกษุณีสายเถรวาท โดยถือกันว่าหากภิกษุณีสายเถรวาทสืบสายไปเป็นมหายานได้ (ภิกษุณีจากลังกาไปบวชให้คนจีน) ภิกษุณีมหายานก็สืบสายมาเป็นเถรวาทได้เช่นกัน
 
[[ไฟล์:Dhammananda09.jpg|left|thumb|150px|ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้บวชเป็นภิกษุณี (เถรวาท) หลายรูป โดยบวชมาจากคณะ[[ภิกษุณีสงฆ์]]ในประเทศ[[ศรีลังกา]] เช่น [[ภิกษุณีธัมมนันทา]] (ในภาพ) มีสำนักภิกษุณีป็นเอกเทศคือ [[วัตรทรงธรรมกัลยาณีภิกษุณีอาราม]]]]
 
ในกรณีนี้เคยมีประเด็นถกเถียงอยู่ช่วงหนึ่งว่าปัจจุบันนี้สามารถบวชภิกษุณีได้หรือไม่ มีข้อสรุปจากทางพระสงฆ์ฝ่ายเถรวาทว่าพระพุทธองค์ทรงอนุญาตให้มีการบวชเป็นภิกษุณีได้ก็ต่อเมื่อบวชต่อสงฆ์ทั้ง 2 ฝ่าย คือต้องบวชทั้งฝ่ายพระภิกษุสงฆ์ และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์เป็นการลง[[ญัตติจตุตถกรรมวาจา]]ทั้งสองฝ่าย จึงจะสามารถเป็นภิกษุณีได้ ดังนั้นในเมื่อภิกษุณีสงฆ์เถรวาทได้เสื่อมสิ้นลงไม่มีผู้สืบต่อ จึงทำให้ใน'''''ปัจจุบันไม่สามารถทำการบวชผู้หญิงเป็นภิกษุณีฝ่ายเถรวาทได้ ''''' การที่มีข้ออ้างว่าสายมหายานสืบสายวงศ์ภิกษุณีสงฆ์ไปก็ไม่สามารถอ้างได้ เพราะการสืบสายทางมหายานมี'''ข้อวินัยและการทำสังฆกรรมบวชภิกษุณีที่ไม่ถูกต้องกับพระไตรปิฎกฝ่ายเถรวาท'''
 
ปัจจุบันศรีลังกาพยายามฟื้นฟูภิกษุณีสงฆ์ จนมีหลายร้อยรูป ที่เมือง[[ไทย]]เองก็มีคนบวชเป็นภิกษุณีหลายรูปแล้วเช่นกัน แต่คณะสงฆ์ไทยไม่ยอมรับเป็นภิกษุณีสงฆ์เพราะสาเหตุดังกล่าวมาแล้วข้างต้น
 
'''<big>การอุปสมบทภิกษุณีสายเถรวาทที่ศรีลังกา</big>'''<ref>http://www.thaibhikkhunis.org/thai2556/index.php?option=com_content&view=article&id=57&Itemid=57</ref>
 
สตรีในพุทธศาสนาโดยเฉพาะในประเทศที่นับถือพุทธศาสนาสายเถรวาทนั้น มีความพยายามที่ออกบวชเป็นภิกษุณีมาหลายทศวรรษแล้ว แต่ยังไม่เป็นผลสำเร็จ เนื่องจากขาดความพร้อม ที่สำคัญที่สุด คือเรื่องภาษา
 
ในประเทศศรีลังกา ไปรับสายการอุปสมบทมาจากวัดซีไหล ในประเทศสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๑  มีทศศีลมาตา ๕ รูปเดินทางไปอุปสมบท  แต่ไม่สามารถอ่านพระปาฏิโมกข์ที่เจ้าภาพให้มาเป็นภาษาอังกฤษได้  เมื่อกลับมาศรีลังกาก็ไม่สามารถรักษาคณะสงฆ์ไว้ได้ เพราะไม่อยู่กันเป็นคณะสงฆ์ ไม่มีการทำสังฆกรรมร่วมกัน ไม่มีการสวดปาฏิโมกข์ เป็นต้น
 
ศรีลังกามีความพร้อมมากขึ้นใน พ.ศ.๒๕๔๑  ที่น่าสนใจคือ พระมหานายก พระภิกษุผู้ใหญ่ให้การสนับสนุน  พระภิกษุสงฆ์เองเป็นคนจัดการคัดเลือกทศศีลมาตาในประเทศ  เฉพาะผู้ที่บวชมานาน มีวัตรปฏิบัติดี บวชมาแล้ว ๒๐-๓๐ พรรษา คัดส่งไปร่วมในการอุปสมบทนานาชาติที่พุทธคยา อินเดีย ซึ่งวัดโฝวกวางซันในไต้หวันเป็นเจ้าภาพ  เป็นการบวชโดยสงฆ์สองฝ่าย คือ มีภิกษุณีสงฆ์สอบถามอันตรายิกธรรม  แต่การบวชยังคงเป็นพระภิกษุสงฆ์ฝ่ายจีน ซึ่งถือวินัยธรรมคุปต์
 
พระมหานายก และพระมหาเถระของศรีลังกาที่ไปร่วมพิธีด้วยทั้งสิบรูป  เห็นว่า การจะกลับไปสืบภิกษุณีสงฆ์สายเถรวาทในศรีลังกายังมีอุปสรรค เพราะภิกษุสงฆ์ที่ให้การอุปสมบทไม่ใช่เถรวาท  จึงเดินทางไปสารนาถ (เพราะที่นั่นมีสีมาของเถรวาทที่วัดศรีลังกา)  จัดการอุปสมบทให้ภิกษุณีทั้ง ๒๐ รูปของศรีลังกา เป็นการอุปสมบทที่ถูกต้องในเถรวาทโดยพระภิกษุเถรวาท ตามพุทธบัญญัติที่ปรากฏในจุลวรรค  '''''“ภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุทั้งหลายอุปสมบทภิกษุณีทั้งหลาย”''''' (พระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ ภิกขุนี ขันธกะ เล่มที่ ๗ วินัยปิฎก จุลวรรค ภาค ๒ ข้อ ๔๐๔)
 
นับเป็นการเริ่มต้นการอุปสมบทภิกษุณีสายเถรวาทที่สืบต่อกันมา  เฉพาะในศรีลังกาเอง ขณะนี้ มีภิกษุณีสายเถรวาทแล้ว ๑,๐๐๐ รูป ในประเทศไทย มี ๑๐๐ รูป (เริ่มพ.ศ. ๒๕๔๖) ในอินโดนีเซีย มี ๘ รูป (เริ่มพ.ศ. ๒๕๔๓) และในเวียดนามมีประมาณ ๑๐ รูป (เริ่มพ.ศ. ๒๕๔๕)  ทั้งนี้ ไม่นับภิกษุณีต่างชาติในตะวันตกที่มารับการอุปสมบทไปจากศรีลังกา
 
== ดูเพิ่ม ==
 
{{วิกิซอร์ซ|1=ประกาศห้ามพระเณรไม่ให้บวชหญิงเป็นบรรพชิต ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๔๗๑|2=ประกาศห้ามพระเณรไม่ให้บวชหญิงเป็นบรรพชิต ลงวันที่ 18 มิถุนายน 2471}}
 
* [[ภิกษุ]]
* [[พระสงฆ์]]
เส้น 76 ⟶ 59:
 
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) [[ป.ธ. 9]] [[ราชบัณฑิต]], ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,'' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ [[พ.ศ. 2548]]
 
 
เส้น 83 ⟶ 66:
* [http://www.84000.org/ 84000 พระธรรมขันธ์]
{{พุทธบริษัท}}
 
[[หมวดหมู่:ภิกษุณี| ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]