ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลโต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{| style="float: right;"
|-
เส้น 19 ⟶ 20:
| {{Plato|noimage=true}}
|}
 
[[ไฟล์:Plato.png|framed|"แนวคิดหลักทางปรัชญาของยุโรป ล้วนแต่เป็นเชิงอรรถของเพลโต" -- [[อัลเฟรด นอร์ท ไวท์เฮด]], Process and Reality, ค.ศ. 1929]]
 
'''เพลโต''' (ใน[[ภาษากรีก]]: Πλάτων ''Plátōn'', {{lang-en| Plato}}) ([[427 ปีก่อน ค.ศ.|427]] - [[347 ปีก่อน ค.ศ.]]) เป็น[[นักปรัชญา]]ชาว[[กรีกโบราณ]]ที่มีอิทธิพลอย่างสูงต่อแนวคิดตะวันตก เขาเป็นลูกศิษย์ของ[[โสกราตีส]] เป็นอาจารย์ของ[[อริสโตเติล]] เป็นนักเขียน และเป็นผู้ก่อตั้ง[[อาคาเดมี]]ซึ่งเป็นสำนักวิชาในกรุง[[เอเธนส์]]
เส้น 25 ⟶ 28:
 
ในบทสนทนาของเพลโลนั้น บ่อยครั้งที่มี[[โสกราตีส]]เป็นตัวละครหลัก ซึ่งเป็นสิ่งที่สร้างความสับสนว่าความเห็นส่วนใดเป็นของโสกราตีส และส่วนใดเป็นของเพลโต
 
== ประวัติ ==
{{โครงส่วน}}
== ผลงาน ==
=== ประเด็นหลัก ===
ในงานเขียนของเพลโต เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับรูปแบบของการปกครองทั้งแบบเจ้าขุนมูลนาย และแบบประชาธิปไตย เราจะพบการโต้เถียงเกี่ยวกับผลของสิ่งแวดล้อมกับผลของพันธุกรรม ต่อสติปัญญาและอุปนิสัยของมนุษย์ ซึ่งการโต้เถียงนี้เกิดขึ้นมานานก่อนการโต้เถียงเรื่อง "[[ธรรมชาติหรือการเลี้ยงดู]]" ที่มีขึ้นในช่วงเวลาของ[[โทมัส ฮอบบส์|ฮอบบส์]] และ[[จอห์น ล็อก|ล็อก]] และยังมีผลต่อเนื่องมาถึงงานเขียนที่ก่อให้เกิดการโต้แย้งเช่นหนังสือ ''The Mismeasure of Man'' และ ''The Bell Curve'' เรายังจะพบข้อคิดเห็นที่สนับสนุน[[อัตวิสัย]]และ[[ปรวิสัย]]ของความรู้ของมนุษย์ ที่มีผลมาถึงการโต้เถียงสมัยใหม่ระหว่าง[[เดวิด ฮูม|ฮูม]] และ[[อิมมานูเอิล คานท์|คานท์]] หรือระหว่างนักหลังสมัยใหม่นิยมและผู้ที่ไม่เห็นด้วย กระทั่งเรื่องราวของเมืองหรือทวีปที่สาบสูญเช่น[[แอตแลนติส]] ก็ยังถูกยกมาเป็นตัวอย่างในงานของเพลโต เช่น ''Timaeus'' หรือ ''Critias''.
เส้น 39 ⟶ 46:
== อภิปรัชญาของเพลโต: ลัทธิเพลโต หรือ สัจนิยม ==
ผลงานที่เป็นที่จดจำที่สุด หรืออาจเป็นผลงานที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเพลโต ก็คืออภิปรัชญาแบบทวิภาค ที่มักเรียกกันว่า (ในอภิปรัชญา) ลัทธิเพลโต หรือ (ถ้าเรียกให้เกินจริง) สัจนิยม    อภิปรัชญาของเพลโตได้แบ่งโลกออกเป็นสองมุม คือ โลกของรูปแบบ (form) และโลกที่รับรู้ได้ เขามองว่าโลกที่รับรู้ได้ รวมถึงสิ่งของต่าง ๆ ในนั้น คือ สำเนาที่ไม่สมบูรณ์แบบจาก ''รูปแบบ'' ที่คิดคำนึงได้ หรือ ''แนวความคิด''   โดยที่รูปแบบเหล่านี้จะไม่เปลี่ยนแปลง และอยู่ในสภาวะสมบูรณ์แบบเสมอ   การทำความเข้าใจกับรูปแบบเหล่านี้จะต้องใช้สติปัญญา หรือความเข้าใจเท่านั้น อย่างไรก็ตามแนวคิดของการแบ่งแยกนี้ได้มีการค้นพบมาก่อนหน้าเพลโนในปรัชญาของ[[โซโรแอสเตอร์]] โดยเรียกว่าโลกมินู (ปัญญา) และ โลกกีติ (สัมผัส) รวมถึงแนวคิดเกี่ยวกับรัฐอุดมคติ ที่โซโรแอสเตอร์เรียกว่า ชาห์ริวาร์ (เมืองอุดมคติ)
<!--
In the ''Republic'' Books VI and VII, Plato uses a number of metaphors to explain his metaphysical views: the metaphor of [[Plato's metaphor of the sun|the sun]], the well-known [[Plato's allegory of the cave|allegory of the cave]], and most explicitly, [[the divided line of Plato|the divided line]]. Taken together, the number of these metaphors convey a complex and, in places, difficult theory: there is something called [[The Form of the Good]] (often interpreted as Plato's God) , which is the ultimate object of knowledge and which as it were sheds light on all the other forms (i.e., universals: abstract kinds and attributes) and from which all other forms "emanate." The Form of the Good does this in somewhat the same way as the sun sheds light on or makes visible and "generates" things in the perceptual world. (See [[Plato's metaphor of the sun]].) In the perceptual world the particular objects we see around us bear only a dim resemblance to the more ultimately real forms of Plato's intelligible world: it is as if we are seeing shadows of cut-out shapes on the walls of a cave, which are mere representations of the reality outside the cave, illuminated by the sun. (See [[Plato's allegory of the cave]].) We can imagine everything in the universe represented on a line of increasing reality; it is divided once in the middle, and then once again in each of the resulting parts. The first division represents that between the intelligible and the perceptual worlds. Then there is a ''corresponding'' division in each of these worlds: the segment representing the perceptual world is divided into segments representing "real things" on the one hand, and shadows, reflections, and representations on the other. Similarly, the segment representing the intelligible world is divided into segments representing first principles and most general forms, on the one hand, and more derivative, "reflected" forms, on the other. (See [[the divided line of Plato]].) The form of government derived from this philosophy turns out to be one of a rigidly fixed hierarchy of hereditary classes, in which the arts are mostly suppressed for the good of the state, the size of the city and its social classes is determined by mathematical formula, and eugenic measures are applied secretly by rigging the lotteries in which the right to reproduce is allocated. The tightness of connection of such government to the lofty and original philosophy in the book has been debated.
 
Plato's metaphysics, and particularly the dualism between the intelligible and the perceptual, would inspire later [[Neoplatonism|Neoplatonic]] thinkers (see [[Plotinus]] and [[Gnosticism]]) and other metaphysical realists. For more on Platonic realism in general, see [[Platonic realism]] and [[the Forms]].
 
Plato also had some influential opinions on the nature of knowledge and learning which he propounded in the [[Meno (Plato)|Meno]], which began with the question of whether virtue can be taught, and proceeded to expound the concepts of [[recollection]], learning as the discovery of pre-existing knowledge, and [[right opinion]], opinions which are correct but have no clear justification (see [[Platonic epistemology]]).
-->
{{โครงส่วน}}
 
== ประวัติของสาขาวิชาที่ศึกษาเพลโต ==
{{โครงส่วน}}
 
{{นักปรัชญาตะวันตก}}
{{บทความเกี่ยวกับกรีซ}}
{{ปรัชญาสังคม}}
 
{{birth|-427}}
{{death|-347}}
 
[[หมวดหมู่:นักปรัชญาชาวกรีก]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เพลโต"