ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พ่อขุนรามคำแหงมหาราช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 54:
 
===เศรษฐกิจและการค้า===
 
โปรดให้สร้างทำนบกักน้ำที่เรียกว่า “สรีดภงส์” เพื่อนำน้ำไปใช้ในตัวเมืองสุโขทัยและบริเวณใกล้เคียง โดยอาศัยแนวคันดินที่เรียกว่า “เขื่อนพระร่วง” ทำให้มีน้ำสำหรับใช้ในการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภคในยาม ที่บ้านเมืองขาดแคลนน้ำ
 
เส้น 77 ⟶ 76:
ทิศใต้ ทรงปราบได้คนที (บ้านโคน จังหวัดกำแพงเพชร), พระบาง (นครสวรรค์), แพรก (ชัยนาท), สุพรรณภูมิ, ราชบุรี, เพชรบุรี, และนครศรีธรรมราช โดยมีฝั่งทะเลสมุทร (มหาสมุทร) เป็นเขตแดนไทย
 
ทิศตะวันตก ทรงปราบได้เมืองฉอด, เมืองหงสาวดี และมีสมุทรเป็นเขตแดนไทย
 
ทิศเหนือ ทรงปราบได้เมืองแพร่, เมืองน่าน, เมืองพลัว (อำเภอปัว น่าน), ข้ามฝั่งโขงไปถึงเมืองชวา (หลวงพระบาง) เป็นเขตแดนไทย
เส้น 101 ⟶ 100:
คำพูด|...ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว...ลูท่างเพื่อนจูงวัวไปค้า ขี่ม้าไปขาย...เห็นข้าวท่านบ่ใคร่พิน เห็นสินท่านบ่ใคร่เดือด
 
นับเป็นวรรณคดีเริ่มแรกของกรุงสุโขทัยซึ่งตกทอดมาถึงปัจจุบัน โดยอย่างไรก็ดี ในช่วงตั้งแต่ [[พ.ศ. 2520]] เป็นต้นมา มีข้อสงสัยทางวิชาการว่าศิลาจารึกดังกล่าวจะมิได้ทำขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และมีผู้เสนอว่า [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ผู้ทรงพบศิลานั้นเมื่อเสด็จจาริกธุดงค์ เป็นผู้ทรงทำศิลานั้นขึ้นเพื่อเหตุผลทางการเมืองในการสร้างประวัติศาสตร์ชาติไทยให้ชาติตะวันตกเห็นว่ามีและรุ่งเรืองมาอย่างยาวนาน เป็นการป้องปัดภัยการล่าอาณานิคมในสมัยนั้น ทั้งนี้ข้อสงสัยนี้กำลังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
นับเป็นวรรณคดีเริ่มแรกของกรุงสุโขทัยซึ่งตกทอดมาถึงปัจจุบันโด
อย่างไรก็ดี ในช่วงตั้งแต่ [[พ.ศ. 2520]] เป็นต้นมา มีข้อสงสัยทางวิชาการว่าศิลาจารึกดังกล่าวจะมิได้ทำขึ้นในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราช และมีผู้เสนอว่า [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ผู้ทรงพบศิลานั้นเมื่อเสด็จจาริกธุดงค์ เป็นผู้ทรงทำศิลานั้นขึ้นเพื่อเหตุผลทางการเมืองในการสร้างประวัติศาสตร์ชาติไทยให้ชาติตะวันตกเห็นว่ามีและรุ่งเรืองมาอย่างยาวนาน เป็นการป้องปัดภัยการล่าอาณานิคมในสมัยนั้น ทั้งนี้ข้อสงสัยนี้กำลังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* ตรี อมาตยกุล. (2523, 2524, 2525 และ 2527). "ประวัติศาสตร์สุโขทัย." ''แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสารโบราณคดี,'' (ปีที่ 14 เล่ม 1, ปีที่ 15 เล่ม 1, ปีที่ 16 เล่ม 1 และปีที่ 18 เล่ม 1).
* ''ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1.'' (2521). คณะกรรมการพิจารณาและจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี.
เส้น 112 ⟶ 111:
* เจ้าพระยาพระคลัง (หน). (2515). ''ราชาธิราช.'' พระนคร : บรรณาการ.
* อุดม ประมวลวิทย์. (2508)" "50 กษัตริย์ไทย". สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
{{สถานีย่อย2|ประเทศไทย|ประวัติศาสตร์|พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์}}
 
== ดูเพิ่ม ==
{{สถานีย่อย2|ประเทศไทย|ประวัติศาสตร์|พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์}}
{{Commonscat|Ram Khamhaeng the Great|พ่อขุนรามคำแหงมหาราช}}
* [[ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง]]