ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาณาจักรธนบุรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 45:
ในเวลาใกล้เคียงกัน ฝ่ายกองทัพพม่าได้คงกำลังควบคุมในเมืองหลวงและเมืองใกล้เคียงประมาณ 3,000 คน โดยมี[[นายทองสุก|สุกี้]]เป็นนายกอง ตั้งค่ายอยู่ที่บ้าน[[โพธิ์สามต้น]] พร้อมกันนั้น พม่าได้ตั้งนายทองอินให้ไปเป็นผู้ดูแลรักษาเมืองธนบุรีไว้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าอาณาจักรอยุธยาจะสิ้นสภาพลงไปแล้ว แต่ยังมีหัวเมืองอีกเป็นจำนวนมากที่ไม่ได้รับความเสียหายจากศึกสงคราม หัวเมืองเหล่านั้นจึงต่างพากันตั้งตนเป็นใหญ่ในเขตอิทธิพลของตน ส่วนทางด้านพระยาตากเองก็สามารถรวบรวมกำลังได้จนเทียบได้กับหนึ่งในชุมนุมทั้งหลายนั้น โดยมีจันทบุรีเป็นฐานที่มั่น
 
ต่อมา พระยาตากจึงนำกำลังที่รวบรวมประมาณ 5,000 คน ตีเมืองธนบุรีและอยุธยาคืนจากข้าศึก เสร็จแล้วจึงสถาปนาตนเองขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา<ref>จรรยา ประชิตโรมรัน. (2548). '''สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช'''. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 55</ref> และทรงสร้างเมืองหลวงใหม่ คือ กรุงธนบุรีธนุบรี<ref>ภัทรธาดา, '''เอกสารบรรยายพระราชประวัติสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี''' (ชลบุรี:พฤษภาคม ๒๕๒๔) หน้า ๙-๑๐.</ref> <!--เนื่องจากทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาถูกทำลายลงจนไม่อาจปฏิสังขรณ์ได้กลับคืนดังเดิม โดยเรียกนามว่า ''กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร'' ส่วนสาเหตุที่ทรงเลือกนั้นเป็นเพราะว่าเมืองธนบุรีมีขนาดเล็กและชัยภูมิ มีปราการป้องกันเข้มแข็ง ทำให้ข้าศึกรุกรานได้ยาก และยังสามารถใช้เป็นสถานที่หลบหนีไปตั้งหลักยังเมืองจันทบุรีได้ทางเรือได้อีก<ref>{{cite book|title=นิราศพระบาท|year=2550|author=[[สุนทรภู่]]|publisher=กองทุน|pages=123-124|isbn=9789744820648}}</ref>-->
 
=== การรวมชาติและการขยายตัว ===
{{ดูเพิ่มที่|สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง|การสงครามสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี}}
เส้น 58 ⟶ 59:
ในปี [[พ.ศ. 2313]] สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีทรงยกกองทัพขึ้นไปปราบ[[ชุมนุมเจ้าพระฝาง]] โดยตีได้เมืองพิษณุโลก และตามไปตีชุมนุมเจ้าพระฝางเมือง[[สวางคบุรี]]ได้ และทรงประทับ ณ เมืองสวางคบุรี เพื่อสมโภชการสำเร็จศึก และจัดการการปกครองและคณะสงฆ์หัวเมืองฝ่ายเหนือใหม่ตลอดฤดูน้ำ 2 เดือนเศษ ซึ่งนับเป็นชุมนุมอิสระสุดท้ายหลังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝางได้นั้น นับเป็นการพระราชสงครามสุดท้ายที่ ทำให้[[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]ทรงบรรลุพระราชภารกิจสำคัญ ในการรวบรวมพระราชอาณาเขตให้เป็นปึกแผ่นหนึ่งเดียวดังเดิมหลังภาวะจลาจลเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่า ในปี [[พ.ศ. 2310]] และทำให้สิ้นสุดสภาพจลาจลการแยกชุมนุมอิสระภายหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง และนับเป็นการสถาปนากรุงธนบุรีได้อย่างเบ็ดเสร็จสมบูรณ์ เมื่อสำเร็จศึกปราบชุมนุมก๊กเจ้าพระฝาง ในปี [[พ.ศ. 2313]]<ref>_________________. (ม.ป.ป.). พระราชพงษาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ระหว่างจลาจล จุลศักราช ๑๑๒๙-๑๑๓๐. กรุงเทพฯ : (ม.ป.ท.). หน้า 49-51</ref>
 
{{โครงส่วน}}<!-- ไม่มีประวัติตั้งแต่ปี 2313-2324 -->
{{โครงส่วน}}เนื่องจากทรงเห็นว่ากรุงศรีอยุธยาถูกทำลายลงจนไม่อาจปฏิสังขรณ์ได้กลับคืนดังเดิม โดยเรียกนามว่า <nowiki>''กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร''</nowiki> ส่วนสาเหตุที่ทรงเลือกนั้นเป็นเพราะว่าเมืองธนบุรีมีขนาดเล็กและชัยภูมิ มีปราการป้องกันเข้มแข็ง ทำให้ข้าศึกรุกรานได้ยาก และยังสามารถใช้เป็นสถานที่หลบหนีไปตั้งหลักยังเมืองจันทบุรีได้ทางเรือได้อีก
 
=== การสิ้นสุด ===