ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีรถไฟศิลาอาสน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 12:
|longtitude =
|mapia_url =
|address = ตำบลท่าเสา [[อำเภอเมืองอุตรดิตถ์|อำเภอเมือง]] [[จังหวัดอุตรดิตถ์]]
|telno = 0-5541-4013 , 0-5541-1311
|station_master =
บรรทัด 35:
|seealso = สายเหนือ
}}
'''สถานีรถไฟศิลาอาสน์''' ตั้งอยู่ที่[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1045]] (ถนนย่านศิลาอาสน์) [[ตำบลท่าเสา]] [[อำเภอเมืองอุตรดิตถ์|อำเภอเมือง]][[จังหวัดอุตรดิตถ์| จ.อุตรดิตถ์]] เป็นสถานีรถไฟระดับ 1 อาคารสถาปัตยกรรม[[ไทย]]ประยุกต์ สถานีรถไฟศิลาอาสน์เป็นย่านสถานีรถไฟที่สำคัญของภาคเหนือ<ref>[http://web.archive.org/20080401120335/www.geocities.com/railsthai/north.htm รายชื่อสถานีรถไฟและที่หยุดรถ สายเหนือ]</ref> และศูนย์คอนเทนเนอร์ของรถไฟสายเหนือ ระยะทางจากกรุงเทพถึงสถานีศิลาอาสน์ คือ 487.52 [[กิโลเมตร]] ใช้เวลาเดินทางประมาณ 7ชั่วโมง
 
สถานีรถไฟศิลาอาสน์ เริ่มก่อสร้างเมื่อปีพ.ศ. 2495 และเปิดให้บริการเมื่อ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2501 เวลา 7 นาฬิกา ตั้งขึ้นเพื่อจุดประสงค์ในการตัดขบวนรถไฟขึ้นภาคเหนือ สร้างขึ้นหลังจากที่สถานีรถไฟอุตรดิตถ์ประสบปัญหาการตัดขบวนรถไฟจึงย้ายที่ทำการตัดขบวนรถมาไว้ที่สถานีรถไฟศิลาอาสน์ และ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]ต้องการจะปิดสถานีรถไฟอุตรดิตถ์เก่า เพราะ ย่านสถานีอุตรดิตถ์เก่า นั้น คับแคบ ไม่มีทางขยายออกไปได้ เพราะ เนื้อที่จำกัดและ ทางราชการมีนโยบายขยายตัวเมืองอุตรดิตถ์ออกไป ทางเหนือ และต้องการมอบพื้นที่ให้กับฝ่ายช่างกล การรถไฟฯ เพื่อตั้งเป็นศูนย์ซ่อมบำรุงรถจักร และรถพ่วงภาคเหนือ ในดังนั้น เพื่อสนองนโยบายดังกล่าว และเพื่อให้ สถานีอุตรดิตถ์ใหม่ เป็นศูนย์กลางในการเดินรถภาคเหนือ โดยขยายหลีกรถโดยสาร หลีกสับเปลี่ยน และหลีกรถสินค้า และ สร้างอาคารที่ทำการและบ้านพัก หลังจาก คณะกรรมการสำรวจพื้นที่ ได้มีมติให้ซื้อที่เอกชนเหนือสถานีอุตรดิตถ์แห่งเดิม 2 กิโลเมตร โดยเปลี่ยนแนวทาง และ วางแนวโค้งใหม่ ให้บรรจบกับทางเข้าสถานีท่าเสา และ วางผังย่านสถานีอุตรดิตถ์ใหม่ โดยเริ่มตั้งแต่ปี 2495 จนสามารถเปิด การเดินรถ (โดยไม่รับผู้โดยสารและสินค้า) เมื่อ 26 มีนาคม พ.ศ. 2499 โดยใช้ชื่อสถานีแห่งนี้ใหม่ว่า สถานีอุตรดิตถ์ใหม่ เป็นย่านสถานีรถไฟที่รองรับการบริการด้านโดยสาร และแปรรูปขบวนรถสินค้า ซึ่งบริเวณตั้งแต่สถานีขึ้นไปเป็นทางตอนภูเขา