ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไข้หวัดนก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.98.203.91 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย 171.97.199.124
บรรทัด 20:
 
=== ประเทศไทย ===
มีการระบาดมาสู่ประเทศไทย ตั้งแต่ปี [[พ.ศ .2547]] โดยพบว่ามีผู้ป่วยและเสียชีวิตมากที่สุดในปีนั้นกล่าวคือป่วย 17 ราย เสียชีวิต 12 ราย ในปี [[พ.ศ. 2548]] ป่วย 5 ราย เสียชีวิต 2 ราย และปี [[พ.ศ. 2549]] ป่วย 3 ราย เสียชีวิต 3 ราย รวมพบผู้ป่วย 25 ราย เสียชีวิต 17 ราย โดยในปี [[พ.ศ. 2547]] พบพื้นที่ระบาดมากที่สุดโดยมากถึง 60 จังหวัด ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2548]]พบพื้นที่ระบาดรองลงมา 21 จังหวัด ในปี[[พ.ศ. 2549]]พบเพียงสองจังหวัด ในปี พ.ศ. 2550 พบพื้นที่ระบาด 4 จังหวัด และปีที่พบเป็นปีสุดท้ายได้แก่ [[พ.ศ. 2551]] พบพื้นที่ระบาด 4 จังหวัดได้แก่ [[จังหวัดนครสวรรค์]] [[จังหวัดพิจิตร]] [[จังหวัดสุโขทัย]] [[จังหวัดอุทัยธานี]]<ref>http://www.phetchaburi.go.th/data/sik_bird53.pdf</ref>
=== กัมพูชา ===
พบเด็กเสียชีวิตในปี [[พ.ศ. 2555]] หนึ่งราย<ref>http://news.thaipbs.or.th/video/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%8A%E0%B8%B2-%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%81</ref>โดยก่อนหน้านี้ ตั้งแต่ปี [[พ.ศ. 2548]] ถึง [[พ.ศ. 2553]] พบผู้ป่วย 10 ราย เสียชีวิตอีก 8 รายใน ช่วงเวลาดังกล่าว<ref>http://www.phetchaburi.go.th/data/sik_bird53.pdf</ref>
บรรทัด 28:
 
== การตรวจวินิจฉัยโรค ==
ไข้หวัดนกในระยะแรกต้องใช้เวลาในการตรวจสอบนาน 3-4 วันโดยวิธีมาตรฐานสำหรับการตรวจวินิจฉัยโรคไข้หวัดนกสายพันธุ์ เอช 5 เอ็น 1 คือวิธีการเพาะแยกเชื้อไวรัสในไข่ไก่ฟักหรือเซลล์เพาะเลี้ยง เมื่อ พ.ศ. 2551 ทีมวิจัย[[คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] พัฒนาชุดตรวจสอบไข้หวัดนก เอช 5 เอ็น 1 ครอบคลุมถึง[[ไข้หวัดใหญ่]]ที่ใช้ต้นทุนการตรวจต่ำและรู้ผลภายใน 1 วันได้สำเร็จ <ref>http://www.bangkokbiznews.com/2008/04/01/WW54_5401_news.php?newsid=244218</ref> นอกจากนี้[[ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ]] ยังได้ให้การสนับสนุนทุนวิจัยแก่นักวิจัยชาวไทยเพื่อพัฒนาชุดตรวจวินัจฉัยไข้หวัดนกโดยใช้หลักการ[[ไบโอเซ็นเซอร์]] ซึ่งเป็นชุดตรวจวินิจฉัยไข้หวัดนกที่มีความจำเพาะสูงกับไวรัสกลุ่ม H5 มีความไวสูงกว่าวิธีปัจจุบัน (IC) 100 เท่า ทราบผลภายใน 15 นาที และสามารถเก็บตัวอย่างได้นาน 1 เดือน ก่อนนำมาอ่านผลด้วยเครื่องเซนเซอร์อีกด้วย
 
== วัคซีนป้องกัน ==