ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปกครองของบริษัทในอินเดีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ปาลาศี" → "ปลาศี" ด้วยสจห.
บรรทัด 8:
|government_type = [[บรรษัทาธิปไตย]]
|empire = British Empire
|event_start = [[ยุทธการที่ปาลาปลาศี]]
|date_start = 23 มิถุนายน
|year_start = ค.ศ. 1757
บรรทัด 57:
}}
 
'''การปกครองของบริษัทในอินเดีย''' หรือบางครั้งเรียกว่า '''กัมปานีราช''' ({{lang-en|Company Raj}})<ref>Oxford English Dictionary, 2nd edition, 1989: Hindi, ''rāj'', from [[Sanskrit|Skr.]] ''rāj'': to reign, rule; cognate with [[Latin|L.]] ''rēx'', ''rēg-is'', [[Old Irish|OIr.]] ''rī'', ''rīg'' king (see RICH).</ref> หมายถึงการปกครองดินแดนใน[[อนุทวีปอินเดีย]]ของ[[บริษัทอินเดียตะวันออก|บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษ]] ซึ่งเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี 1757 ภายหลังกองทหารของบริษัทมีชัยชนะใน[[ยุทธการที่ปาลาปลาศี]]และได้ภาคเบงกอลมาครอบครอง และในปี 1765 บริษัทก็ได้รับสิทธิในการเก็บรายได้ในเบงกอลและพิหาร ต่อมาในปี 1773 บริษัทได้ตั้ง[[โกลกาตา|กัลกัตตา]]เป็นเมืองหลวง และมีราชสำนักอังกฤษได้แต่งตั้งข้าหลวงต่างพระองค์คนแรกขึ้น<ref>{{Harvnb|Metcalf|Metcalf|p=56}}</ref>
 
หลังได้เบงกอลและพิหารมาครอบครอง บริษัทก็ได้ส่งกองทหารไปเจรจาให้รัฐต่างๆยินยอมให้บริษัทเข้าไปทำผลประโยชน์ตามเงื่อนไขที่บริษัทต้องการ รัฐใดที่ยินยอมก็จะยังมีคงอำนาจในการปกครองตนเอง ถึงกระนั้น รัฐมากมายในอินเดียตัดสินใจต่อสู้กับบริษัทและต่างพ่ายแพ้ เจ้าผู้ครองรัฐถูกริบอำนาจและรัฐตกไปอยู่ภายใต้การปกครองของบริษัท บริษัทได้ยุติบทบาทในการปกครองอนุทวีปอินเดียไปภายหลังการก่อกบฎโดยชาวพื้นเมืองในปี 1857 ซึ่งนำมาสู่การตราพระราชบัญญัติรัฐบาลแห่งอินเดีย ค.ศ. 1858 ซึ่งรัฐบาลสหราชอาณาจักรได้เข้ามาปกครองอินเดียโดยตรงแทน