ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเจ็ดปี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
== เบื้องหลัง ==
สงครามเจ็ดปีมักจะถือกันว่าเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจาก[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย]]ที่เกิดขึ้นระหว่างปี 1740 – 1748 เมื่อ[[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]]ได้ดินแดน[[ไซลีเซีย]]มาจากออสเตรีย [[จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา|พระนางมาเรีย เทเรซา แห่งออสเตรีย]]ทรงจำต้องลงพระนามใน[[สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล (ค.ศ. 1748)|สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล]]เพื่อเป็นการยุติสงคราม และซื้อเวลาในการสร้างเสริมกองทัพออสเตรีย และเสาะหาพันธมิตรทางการทหารใหม่ซึ่งทรงได้รับความสำเร็จอย่างคาดไม่ถึง แผนที่การเมืองของยุโรปได้รับการร่างใหม่ภายในสองสามปีหลังจากที่ออสเตรียยุติการเป็นพันธมิตรกับบริเตนใหญ่หลังจากที่เป็นมิตรกันมากว่า 25 ปี
 
ส่วนพันธมิตรหลักของปรัสเซียก็มีเพียงบริเตนใหญ่ ซึ่งครองบัลลังก์[[รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก|ฮันโนเฟอร์]]อยู่ ผู้มีความพะวงถึงอันตรายของบริเตนเองก็เกรงว่าฝรั่งเศสจะรุกรานฮันโนเฟอร์ที่มาจากฝรั่งเศส เมื่อดูตามสถานะการณ์แล้วคู่พันธมิตรดังกล่าวก็เป็นคู่ที่เหมาะสมกันอย่างที่สุด บริเตนใหญ่มีราชนาวีที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลกในขณะนั้น ขณะที่ปรัสเซียมีกองทัพบกที่เป็นที่น่าเกรงขามที่สุดในยุโรป ซึ่งเป็นผลทำให้บริเตนใหญ่สามารถหันความสนใจไปในด้านการขยายตัวของอาณานิคมได้อย่างเต็มที่ บริเตนมีความหวังว่า[[Diplomatic Revolution|การปฏิวัติทูต]]จะมีผลให้สันติภาพมีโอกาสได้ดำเนินอยู่ต่อไป แต่อันที่จริงแล้วกลับเป็นสาเหตุของการปะทุของสงครามในปี ค.ศ. 1756
 
กองทัพหลังจากที่ราชวงศ์ฮับส์บูร์กของออสเตรียพ่ายแพ้ในสงครามครั้งก่อนหน้า ก็ได้รับมีการปรับปรุงสร้างเสริมปฏิรูปกองทัพขึ้นใหม่ตามแบบของระบบแบบอย่างกองทัพปรัสเซีย จักรพรรดินีนาถมาเรียพระนางมาเรีย เทรีเรซา ผู้มีพระปรีชาสามารถทางด้านการทหารไม่น้อยกว่าผู้ใดทรงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความกดดันที่เป็นผลให้เกิดการปฏิรูประบบการทหารขึ้นกองทัพครั้งนี้ ออสเตรียได้รับจากความพ่ายแพ้อันน่าอับอายหลายครั้งต่อปรัสเซียในสงครามก่อนหน้านั้น และมีความประกอบกับไม่พึงพอใจต่อความพอใจที่ก่อนหน้า บริเตนมักจะช่วยเหลืออันจำกัดของฝ่ายบริติชออสเตรียอย่างไม่ค่อยเต็มที่และเต็มใจ ออสเตรียจึงได้ตั้งความหวังใหม่ว่าฝรั่งเศสจะมาเป็นพันธมิตรผู้สามารถช่วยกู้ไซลีเซียคืนจากปรัสเซียได้และยุติการขยายอำนาจของปรัสเซีย
 
== เหตุการณ์ ==
ความขัดแย้งระหว่างบริเตนใหญ่และฝรั่งเศสสงครามเจ็ดปีปะทุขึ้นในปี 1754–1756 เมื่อบริเตนใหญ่เข้าโจมตีที่มั่นของฝรั่งเศสในทวีปอเมริกาเหนือและยึดเอาเรือพาณิชย์ของฝรั่งเศสกว่าร้อยลำ ในขณะนั้น มหาอำนาจอย่าง[[ปรัสเซีย]]ก็กำลังต่อสู้อยู่กับ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ของ[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก|ราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรีย]]เพื่อแย่งชิงดินแดนทั้งในและนอกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งในปี 1756 ชาติต่างๆก็เกิดการย้ายฝ่ายครั้งใหญ่เรียกว่า "การปฏิวัติทูต" ซึ่งทำให้ดุลอำนาจในยุโรปเปลี่ยนไปอย่างมาก
 
เมื่อปรัสเซียรู้ดีว่าไม่มีทางหลีกเลี่ยงสงครามได้ จึงรีบบุกครอง[[ซัคเซิน]]อย่างรวดเร็วและสร้างความอลหม่านไปทั่วยุโรป เนื่องจากออสเตรียซึ่งเคยเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสในการทวงคืน[[ไซลีเซีย]]นั้นเป็นฝ่ายแพ้ใน[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย|สงครามครั้งก่อน]] และปรัสเซียก็หันไปจับมือกับบริเตนใหญ่ และในการประชุมสภาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ครั้งต่อมา รัฐส่วนใหญ่ในจักรวรรดิฯได้เลือกยืนอยู่ฝ่ายเดียวกับออสเตรีย และบางรัฐเลือกอยู่กับฝ่ายพันธมิตรบริเตนใหญ่-ปรัสเซีย (โดยเฉพาะ[[ฮันโนเฟอร์]]) สวีเดนซึ่งเกรงว่าภัยจากการขยายดินแดนของปรัสเซียจะมาถึงตน จึงประกาศเข้าร่วมกับฝรั่งเศสในปี 1757 ทั้งนี้ก็เพื่อปกป้องประเทศราชต่างๆในบอลติกของสวีเดน สเปนซึ่งปกครองด้วย[[ราชวงศ์บูร์บง|ราชวงศ์]]เดียวกับฝรั่งเศสก็เข้าร่วมสงครามด้วยในนามขอฝรั่งเศส โดยเข้ารุกรานโปรตุเกสในปี 1762 แต่ไม่สำเร็จ ส่วน[[จักรวรรดิรัสเซีย]]เป็นพันธมิตรกับออสเตรียอยู่ตั้งแต่ต้น ก็เกิดอาการกลัวว่าปรัสเซียจะเข้ารุกราน[[เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย]] ดังนั้นในปี 1762 รัสเซียจึงล้มเลิกความคิดที่จะเอาชนะปรัสเซียและทำสนธิสัญญาสันติภาพกับปรัสเซียแทน ในขณะที่ชาติขนาดกลางและขนาดเล็กจำนวนมากในยุโรป เช่น เดนมาร์ก, ก็มีท่าทีไม่เหมือนกับสงครามครั้งก่อนๆ แม้ว่าจะมีส่วนได้ส่วนเสียกับสงครามครั้งนี้แต่ก็พยายามหลีกเลี่ยงและอยู่ห่างๆจากความขัดแย้งที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น
เส้น 39 ⟶ 43:
 
[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]] บรรยายสงครามนี้ว่าเป็น “[[สงครามโลก]]”<ref>{{cite book|last=Bowen|first=HV|year=1998| title=War and British Society 1688-1815|publisher=Cambridge University Press|location=Cambridge, United Kingdom|id=ISBN 0-521-57645-8|pages=7}}</ref> เพราะเป็นความขัดแย้งที่นำมาซึ่งสงครามไปทั่วทุกหนทุกแห่งในโลกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ แม้ว่าผู้ที่มีความขัดแย้งกันส่วนใหญ่มาจากยุโรปและจากอาณานิคมโพ้นทะเลที่เป็นของประเทศเหล่านั้น ส่วนหนึ่งของความขัดแย้งเป็นความขัดแย้งระหว่างบริเตนใหญ่และฝรั่งเศสในการขยายจักรวรรดิ สงครามเป็นเหตุการณ์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ของ[[สงครามร้อยปีครั้งที่ 2]]<ref>Tombs, Robert and Isabelle. ''That Sweet Enemy: The French and the British from the Sun King to the Present''. London: William Heinemann, 2006.</ref>
 
== ที่มาของสงคราม ==
พันธมิตรหลักของปรัสเซียก็มีเพียงบริเตนใหญ่ ซึ่งครองบัลลังก์[[รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก|ฮันโนเฟอร์]]อยู่ ผู้มีความพะวงถึงอันตรายของฮันโนเฟอร์ที่มาจากฝรั่งเศส เมื่อดูตามสถานะการณ์แล้วคู่พันธมิตรดังกล่าวก็เป็นคู่ที่เหมาะสมกันอย่างที่สุด บริเตนใหญ่มีราชนาวีที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลกในขณะนั้น ขณะที่ปรัสเซียมีกองทัพบกที่เป็นที่น่าเกรงขามที่สุดในยุโรป ซึ่งเป็นผลทำให้บริเตนใหญ่สามารถหันความสนใจไปในด้านการขยายตัวของอาณานิคมได้อย่างเต็มที่ บริเตนมีความหวังว่า[[Diplomatic Revolution|การปฏิวัติทูต]]จะมีผลให้สันติภาพมีโอกาสได้ดำเนินอยู่ต่อไป แต่อันที่จริงแล้วกลับเป็นสาเหตุของการปะทุของสงครามในปี ค.ศ. 1756
 
กองทัพออสเตรียได้รับการปรับปรุงสร้างเสริมขึ้นใหม่ตามแบบของระบบปรัสเซีย จักรพรรดินีนาถมาเรีย เทรีซาผู้มีพระปรีชาสามารถทางด้านการทหารไม่น้อยกว่าผู้ใดทรงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความกดดันที่เป็นผลให้เกิดการปฏิรูประบบการทหารขึ้น ออสเตรียได้รับความพ่ายแพ้อันน่าอับอายหลายครั้งต่อปรัสเซียในสงครามก่อนหน้านั้น และมีความไม่พึงพอใจต่อความช่วยเหลืออันจำกัดของฝ่ายบริติช ออสเตรียจึงได้ตั้งความหวังใหม่ว่าฝรั่งเศสจะมาเป็นพันธมิตรผู้สามารถช่วยกู้ไซลีเซียคืนจากปรัสเซียได้และยุติการขยายอำนาจของปรัสเซีย
 
สาเหตุที่สองของสงครามมาจากความขัดแย้งระหว่าง[[จักรวรรดิอังกฤษ]] และ [[จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส|จักรวรรดิฝรั่งเศส]]เรื่องการขยายอาณานิคม ที่เป็นผลให้มีการกระทบกระทั่งกันอย่างประปราย ความขัดแย้งหนึ่งคืออำนาจใน[[Ohio Country|ดินแดนโอไฮโอ]] (Ohio Country) ซึ่งเป็นหัวใจของทั้งสองจักรวรรดิในการขยายอำนาจในทวีปอเมริกาเหนือ จักรวรรดิทั้งสองจึงอยู่ในสถานะภาพของสงครามมาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1754 แต่การปะทะกันขณะนั้นยังคงจำกัดอยู่แต่ในทวีปอเมริกาเท่านั้น
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:คริสต์ศตวรรษที่ 18 ในสหรัฐอเมริกา]]