ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามเจ็ดปี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alpinu (คุย | ส่วนร่วม)
French spelling (siecle -> siècle, chateau -> château)
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ใช้ปีคศ|width=300307px}}
{{Infobox Military Conflict
|conflict=สงครามเจ็ดปี
|image=[[ไฟล์:KunersdorffSeven Years' War Collage.jpg|300px]]
|caption=ทวนเข็มจากบนซ้าย; [[ยุทธการที่ปาลาศี]], [[ยุทธการที่คาริลลอน]], [[ยุทธการที่ซอร์นดอร์ฟ]] และ [[ยุทธการที่คูเนอร์สดอฟ]]
|caption=[[ยุทธการคูเนอร์ดอร์ฟ]] โดย[[อเล็กซานเดอร์ โคท์เซอบิว]]<br />(Alexander Kotzebue)<br />ค.ศ. 1848
|date= ค.ศ. 1756–ค.ศ. 1763
|place=ยุโรป, แอฟริกา, อินเดีย, [[ทวีปอเมริกาเหนือ]], [[ฟิลิปปินส์]]
|casus=
|territory= บริเตนและสเปนยึดอาณานิคมเกือบทั้งหมดของฝรั่งเศสใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] การควบคุมดินแดนส่วนใหญ่ของ[[ไซลีเซีย]]โดย[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]]ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลง
|result= สถานภาพยังคงคงตัวโดยไม่มีเปลี่ยนแปลงในยุโรป
สนธิสัญญาเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก<br />[[สนธิสัญญาปารีส ค.ศ. (1763)|สนธิสัญญาปารีส]]|สนธิสัญญาปารีส]]<br />[[สนธิสัญญาฮูเบอร์ตัสเบิร์กฮิวเบอร์ทุสบูร์ก]]
|combatant1= {{flagicon|Prussia|1750}} [[ปรัสเซีย]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]] และ[[การยึดครองอาณานิคมของบริเตนใหญ่ในอเมริกา|อาณานิคม]]<br />{{flagicon|Hanover|1692}} [[ราชอาณาจักรเลือกตั้งแห่งฮาโนเวอร์|ฮาโนเวอร์ฮันโนเฟอร์]]<br />[[ไฟล์:Flag of the Iroquois Confederacy.svg|22px|border]] [[สหพันธ์อิรคว็อยซ์]]<br />{{flagicon|Portugal|1707}} [[โปรตุเกส]]<br />[[ไฟล์:Wappen Braunschweig.svg|24px]] [[อาณาจักรดยุคแห่งบรันสวิค|บรันสวิค-วูล์เฟ็นบืตเตล]]<br />{{flagicon|Hesse}} [[เฮสเส-คาสเซิล]]
|combatant2={{flagicon|France|restauration}}<ref>George Ripley, Charles Anderson Dana, ''The American Cyclopaedia'', New York, 1874, p. 250, "...the standard of France was white, sprinkled with golden fleur de lis...". *[http://www.anyflag.com/history/fleur23.htm]The original Banner of France was strewn with fleurs-de-lis. *[http://digitalgallery.nypl.org/nypldigital/dgdisplaylargemeta.cfm?strucID=585779&imageID=1236061&parent_id=585395&word=&s=&notword=&d=&c=&f=&sScope=&sLevel=&sLabel=&lword=&lfield=&num=0&imgs=12&total=98&pos=1&snum=]:on the reverse of this plate it says: "Le pavillon royal était véritablement le drapeau national au dix-huitième siècle...Vue du château d'arrière d'un vaisseau de guerre de haut rang portant le pavillon royal (blanc, avec les armes de France)."[http://www.1911encyclopedia.org/Flag] from the 1911 Encyclopedia Britannica: "The oriflamme and the Chape de St Martin were succeeded at the end of the 16th century, when Henry III, the last of the house of Valois, came to the throne, by the white standard powdered with fleurs-de-lis. This in turn gave place to the tricolour."</ref> [[ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น|ฝรั่งเศส]] และ[[จักรวรรดิอาณานิคมฝรั่งเศส|อาณานิคม]]<br />{{flagicon|Habsburg Monarchy}} [[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]<br /> {{flag|จักรวรรดิรัสเซีย}}<br />{{flag|Sweden|name=สวีเดน}}<br />{{flag|Spain|1506|name=สเปน}} และ[[จักรวรรดิสเปน|อาณานิคม]]<br />{{flagicon image|Flag of Electoral Saxony.svg}} [[อาณาจักรเลือกตั้งแห่งแซกโซนี|แซกโซนี]]<br />{{flagicon|Sardinia|kingdom}} [[ซาร์ดิเนีย]]
|commander1={{flagicon|Prussia|1701}} [[สมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย|พระเจ้าฟรีดริชที่ 2]]<br />{{flagicon|Prussia|1701}} [[เจ้าชายไฮน์ริชแห่งปรัสเซีย|เจ้าชายไฮน์ริช]]<br />{{flagicon|Prussia|1701}} [[ฟรีดริช วิลเฮล์ม ฟอน เซย์ลิทซ์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[จอห์นพระเจ้าจอร์จที่ แมนเนอร์ส2 มาควิสแห่งแกรนบีย์บริเตนใหญ่|จอห์นพระเจ้าจอร์จที่ แมนเนอร์ส2]] <br />{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[เอ็ดเวิร์ดพระเจ้าจอร์จที่ บอสคาเว็น3]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[โรเบิร์ตวิลเลียม ไคลฟคาเว็นดิช บารอนไคลฟที่ดยุกที่ 14 แห่งเดวอนเชอร์|โรเบิร์ตดยุกแห่งเดวอนเชอร์]]<br ไคลฟ/>{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[ทอมัส เพลแฮม-โฮลล์ส ดยุกแห่งนิวคาสเซิล|ดยุกแห่งนิวคาสเซิล]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[เจมส์John วูล์ฟManners, Marquess of Granby|มาร์ควิสแห่งกรันบี]]<br />{{KIAflagicon|United Kingdom|1606}} [[Robert Clive|รอเบิร์ด ไคลฟ์]]<br />{{flagicon|United Kingdom|1606}} [[เจฟฟรีย์ แอมเฮิร์สท์ บารอนAmherstที่แอมเฮิร์สที่ 1|เจฟฟรีย์ แอมเฮิร์สท์เฮิร์ส]]<br />{{flagicon image|UnitedFlag Kingdom|1606Portugal (1750).svg}} [[เอ็ดเวิร์ดพระเจ้าฌูเซที่ แบรดด็อค1 แห่งโปรตุเกส|พระเจ้าฌูเซที่ 1]] {{KIA}}<br /> {{flagicon|Hanover|1692}} [[ดยุคเฟอร์ดินานด์แห่งบรันสวิคDuke Ferdinand of Brunswick-Wolfenbüttel|ดยุกแฟร์ดีนันด์]]
|commander2={{flagicon|France|restauration}} [[พระเจ้าหลุยส์ที่ 15 แห่งฝรั่งเศส|หลุยส์ที่ 15]]<br />{{flagicon|France|restauration}} [[หลุยส์-โจเซฟแห่งมงต์คาล์ม]] {{KIA}}<br />{{flagicon|Habsburg Monarchy}} [[เลโอโปลด์ โจเซฟ กราฟ ดอน|เคานท์แห่งดอน]]<br />{{flagicon|Habsburg Monarchy}} [[ฟรันซ์ มอริทซ์ ฟอน เลซีย์]]<br />{{flagicon|Habsburg Monarchy}} [[เจ้าชายชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์แห่งลอร์แรน|ชาร์ลส์ อเล็กซานเดอร์แห่งลอร์แรน]]<br />{{flagicon|Habsburg Monarchy}} [[เอิร์นสท์ กิดเดียน ไฟรแฮร์ ฟอน ลอดอน|เอิร์นสท์ ฟอน ลอดอน]]<br /><br />{{flagicon|Russian Empire}} [[สมเด็จพระจักรพรรดินีเอลิซาเบธแห่งรัสเซีย|เอลิซาเบธแห่งรัสเซีย]] <br />{{flagicon|Russian Empire}} [[เปโยเตรอ ซาลติคอฟ]]<br />{{flagicon image|Flag of Electoral Saxony.svg}} [[สมเด็จพระเจ้าออกัสตัสที่ 3 แห่งโปแลนด์|ฟรีดิช ออกัสตัสที่ 2]]
}}
บรรทัด 18:
''สำหรับสงครามเจ็ดปีในความหมายอื่น อ่าน [[สงครามเจ็ดปี (แก้ความกำกวม)]]''
 
'''สงครามเจ็ดปี''' ({{lang-en|Seven Years' War}}) หรือที่เรียกในภาษาเยอรมันว่า '''สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3''' ({{lang-en|'''Seven Years' War''' หรือ '''Third Silesian War'''}}) เป็นสงครามที่เกิดขึ้นระหว่างปี [[ค.ศ. 1756]] จนถึงปี [[ค.ศ. 1763]] โดยเกี่ยวข้องกับทุกประเทศมหาอำนาจในยุโรป สงครามเจ็ดปีเป็นสงครามระหว่าง[[ราชอาณาจักรปรัสเซีย|ปรัสเซีย]]และ[[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]]และกลุ่มนครรัฐเล็กในเยอรมนีที่ต่อต้านฝ่ายพันธมิตรที่ประกอบด้วย[[ออสเตรีย]], [[ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น|ฝรั่งเศส]], [[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]], [[จักรวรรดิสวีเดน|สวีเดน]] และ[[อาณาจักรเลือกตั้งแห่งแซกโซนี|แซกโซนี]] โดย[[จักรวรรดิรัสเซีย|รัสเซีย]]เปลี่ยนข้างอยู่ระยะหนึ่งในช่วงปลายของสงคราม
 
ต่อมา[[ราชอาณาจักรโปรตุเกส|โปรตุเกส]] (ฝ่ายบริเตนใหญ่) และ[[สเปน]] (ฝ่ายฝรั่งเศส) ถูกดึงเข้าร่วมในสงคราม และ[[เนเธอร์แลนด์]]ที่เป็นกลางก็เข้าร่วมสงครามเมื่อถูกโจมตีนิคมของตนในอินเดียถูกโจมตี เพราะความกว้างขวางของสงครามที่กระจายไปทั่วโลกนี้เองทำให้สงครามเจ็ดปีได้รับการบรรยายว่าเป็น "สงครามโลกครั้งแรก”แรก" ที่มีผลให้ผู้คนเสียชีวิตไปประมาณ 900,000 ถึง 1,400,000 คน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความสมดุลต่อดุลทางอำนาจต่อผู้เข้าร่วมหลายประเทศทางการเมืองมหาศาล
 
สงครามเจ็ดปีเริ่มขึ้นเมื่อ[[สมเด็จพระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]]ทรงเข้ารุกรานแซกโซนี การต่อสู้ระหว่างบริเตน, ฝรั่งเศสและพันธมิตรของทั้งสองฝ่ายใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]เริ่มขึ้นในปี ค.ศ. 1754 สองปีก่อนที่สงครามโดยทั่วไปจะเกิดขึ้น การต่อสู้ในอเมริกาเหนือบางครั้งก็ถือว่าเป็นสงครามอีกสงครามหนึ่งที่เรียกว่า[[สงครามฝรั่งเศส-อเมริกันอินเดียน]] (French and Indian War)
 
แม้ว่าทวีปยุโรปจะเป็นสมรภูมิหลักของสงครามโดยทั่วไปแต่ผลของสงครามก็มิได้ทำให้สถานการณ์เปลี่ยนไปมากจากก่อนสงครามเท่าใดนัก กลับกลายเป็นว่าผลกระทบกระเทือนในเอเชียและอเมริกามีมากกว่าและส่งผลที่ยาวนานกว่า สงครามยุติความเป็นมหาอำนาจการครองครองอาณานิคมของฝรั่งเศสใน[[ทวีปอเมริกา]] ที่เสียดินแดนเกือบทั้งหมดในทวีปอเมริกาเหนือและหมู่เกาะ[[แคริบเบียน|เวสต์อินดีส]]บางส่วน<ref>The Treaty of Paris (1763) in {{cite book|last=Corbett| first=Julian|title=England in the Seven Years' War: A Study in Combined Strategy Vol. II.|edition=Second Edition|date=1918|month=|publisher=Longman, Green and Co.|location=London|pages=|chapter=}}</ref> ปรัสเซียยังคงเป็นมหาอำนาจและยังคงครอบครองบริเวณ[[ไซลีเซีย]]ที่เดิมเป็นของออสเตรีย [[ราชอาณาจักรบริเตนใหญ่|บริเตนใหญ่]]กลายเป็นมหาอำนาจในการเป็นเจ้าของอาณานิคมใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] และเป็นผู้มีอำนาจมากกว่าผู้ใดในการครอบครองอาณานิคม
 
== เบื้องหลัง ==
สงครามเจ็ดปีมักจะถือกันว่าเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจาก[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย]]ที่เกิดขึ้นระหว่าง ค.ศ.ปี 1740 – ค.ศ. 1748 เมื่อ[[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]]หรือพระเจ้าฟรีดริชมหาราชได้ดินแดน[[ไซลีเซีย]]มาจากออสเตรีย [[จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา|สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถมาเรียพระนางมาเรีย เทเรซา แห่งออสเตรีย]]ทรงจำต้องลงพระนามใน[[สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล (ค.ศ. 1748)|สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล]]เพื่อเป็นการยุติสงคราม และซื้อเวลาในการสร้างเสริมกองทัพออสเตรีย และเสาะหาพันธมิตรทางการทหารใหม่ซึ่งทรงได้รับความสำเร็จอย่างคาดไม่ถึง แผนที่การเมืองของยุโรปได้รับการร่างใหม่ภายในสองสามปีหลังจากที่ออสเตรียยุติ[[Anglo-Austrian Alliance|การเป็นพันธมิตรกับอังกฤษ]]บริเตนใหญ่หลังจากที่ดำเนินเป็นมิตรกันมากว่ายี่สิบห้าปี 25 ระหว่างช่วงที่เรียกกันว่า[[Diplomatic Revolution|การปฏิรูปทางการทูต]]ของปี ค.ศ. 1756 คู่อริเก่าที่ประกอบด้วยฝรั่งเศส ออสเตรีย และ รัสเซียก็ตกลงเป็นพันธมิตรในการต่อต้านปรัสเซียร่วมกัน
 
== เหตุการณ์ ==
ความขัดแย้งระหว่างบริเตนใหญ่และฝรั่งเศสปะทุขึ้นในปี 1754–1756 เมื่อบริเตนใหญ่เข้าโจมตีที่มั่นของฝรั่งเศสในทวีปอเมริกาเหนือและยึดเอาเรือพาณิชย์ของฝรั่งเศสกว่าร้อยลำ ในขณะนั้น มหาอำนาจอย่าง[[ปรัสเซีย]]ก็กำลังต่อสู้อยู่กับ[[จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์]]ของ[[ราชวงศ์ฮับส์บูร์ก|ราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรีย]]เพื่อแย่งชิงดินแดนทั้งในและนอกจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ จนกระทั่งในปี 1756 ชาติต่างๆก็เกิดการย้ายฝ่ายครั้งใหญ่เรียกว่า "การปฏิวัติทูต" ซึ่งทำให้ดุลอำนาจในยุโรปเปลี่ยนไปอย่างมาก
 
เมื่อปรัสเซียรู้ดีว่าไม่มีทางหลีกเลี่ยงสงครามได้ จึงรีบบุกครอง[[ซัคเซิน]]อย่างรวดเร็วและสร้างความอลหม่านไปทั่วยุโรป เนื่องจากออสเตรียซึ่งเคยเป็นพันธมิตรกับฝรั่งเศสในการทวงคืน[[ไซลีเซีย]]นั้นเป็นฝ่ายแพ้ใน[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย|สงครามครั้งก่อน]] และปรัสเซียก็หันไปจับมือกับบริเตนใหญ่ และในการประชุมสภาจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ครั้งต่อมา รัฐส่วนใหญ่ในจักรวรรดิฯได้เลือกยืนอยู่ฝ่ายเดียวกับออสเตรีย และบางรัฐเลือกอยู่กับฝ่ายพันธมิตรบริเตนใหญ่-ปรัสเซีย (โดยเฉพาะ[[ฮันโนเฟอร์]]) สวีเดนซึ่งเกรงว่าภัยจากการขยายดินแดนของปรัสเซียจะมาถึงตน จึงประกาศเข้าร่วมกับฝรั่งเศสในปี 1757 ทั้งนี้ก็เพื่อปกป้องประเทศราชต่างๆในบอลติกของสวีเดน สเปนซึ่งปกครองด้วย[[ราชวงศ์บูร์บง|ราชวงศ์]]เดียวกับฝรั่งเศสก็เข้าร่วมสงครามด้วยในนามขอฝรั่งเศส โดยเข้ารุกรานโปรตุเกสในปี 1762 แต่ไม่สำเร็จ ส่วน[[จักรวรรดิรัสเซีย]]เป็นพันธมิตรกับออสเตรียอยู่ตั้งแต่ต้น ก็เกิดอาการกลัวว่าปรัสเซียจะเข้ารุกราน[[เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย]] ดังนั้นในปี 1762 รัสเซียจึงล้มเลิกความคิดที่จะเอาชนะปรัสเซียและทำสนธิสัญญาสันติภาพกับปรัสเซียแทน ในขณะที่ชาติขนาดกลางและขนาดเล็กจำนวนมากในยุโรป เช่น เดนมาร์ก, ก็มีท่าทีไม่เหมือนกับสงครามครั้งก่อนๆ แม้ว่าจะมีส่วนได้ส่วนเสียกับสงครามครั้งนี้แต่ก็พยายามหลีกเลี่ยงและอยู่ห่างๆจากความขัดแย้งที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้น
 
สงครามสิ้นสุดลงด้วย[[สนธิสัญญาปารีส (1763)|สนธิสัญญาปารีส]]ระหว่างสเปนกับฝรั่งเศสและบริเตนใหญ่ กับสนธิสัญญาฮิวเบอร์ทุสบูร์กระหว่างซัคเซิน, ออสเตรีย และปรัสเซีย ในปี 1763
 
[[ไฟล์:SevenYearsWar.png|thumb|left|340307px|ผู้ร่วมฝ่ายในสงคราสงครามเจ็ดปีทุกฝ่าย<font color="Blue">น้ำเงิน</font>: บริเตนใหญ่, ปรัสเซีย, โปรตุเกส และพันธมิตร<font color="Green">เขียว</font>: ฝรั่งเศส, สเปน, ออสเตรีย, รัสเซีย, สวีเดน และพันธมิตร]]
== ที่มาของชื่อสงคราม ==
ในแคนาดา, ฝรั่งเศส และสหราชอาณาจักร คำว่า “สงครามเจ็ดปี” หมายถึงความขัดแย้งใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] ที่รวมทั้งความขัดแย้งในยุโรปและเอเชียด้วย ความขัดแย้งนี้แม้ว่าจะเรียกว่า “สงครามเจ็ดปี” แต่อันที่จริงแล้วเป็นสงครามที่ยาวเก้าปีเกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ. 1754 จนถึงปี ค.ศ. 1763 ในสหรัฐอเมริกาสงครามส่วนที่เกิดขึ้นที่นั่นมักจะเป็นที่รู้จักกันว่า “[[สงครามฝรั่งเศส-อเมริกันอินเดียน]]” แต่นักวิชาการและนักประวัติศาสตร์หลายท่านในสหรัฐอเมริกาเช่น[[เฟรด แอนเดอร์สัน (นักประวัติศาสตร์)|เฟรด แอนเดอร์สัน]]เรียกสงครามนี้ตามที่เรียกกันในประเทศอื่นว่า “สงครามเจ็ดปี” ไม่ว่าสงครามจะเกิดขึ้นที่ใด ในควิเบคความขัดแย้งนี้บางครั้งก็เรียกว่า “La Guerre de la Conquête” ที่แปลว่า “สงครามแห่งการพิชิต” ส่วนในอินเดียก็เรียกว่า “[[สงครามคาร์เนติค]]” (Carnatic Wars) ขณะที่การต่อสู้ระหว่างปรัสเซียและออสเตรียเรียกว่า “[[สงครามไซลีเซีย|สงครามไซลีเซียครั้งที่ 3]]”
 
[[วินสตัน เชอร์ชิลล์]] บรรยายสงครามนี้ว่าเป็น “[[สงครามโลก]]”<ref>{{cite book|last=Bowen|first=HV|year=1998| title=War and British Society 1688-1815|publisher=Cambridge University Press|location=Cambridge, United Kingdom|id=ISBN 0-521-57645-8|pages=7}}</ref> เพราะเป็นความขัดแย้งที่นำมาซึ่งสงครามไปทั่วทุกหนทุกแห่งในโลกเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ แม้ว่าผู้ที่มีความขัดแย้งกันส่วนใหญ่มาจากยุโรปและจากอาณานิคมโพ้นทะเลที่เป็นของประเทศเหล่านั้น ส่วนหนึ่งของความขัดแย้งเป็นความขัดแย้งระหว่างอังกฤษบริเตนใหญ่และฝรั่งเศสในการขยายจักรวรรดิ สงครามเป็นเหตุการณ์สำคัญของคริสต์ศตวรรษที่ 18 ของ[[สงครามร้อยปีครั้งที่ 2]]<ref>Tombs, Robert and Isabelle. ''That Sweet Enemy: The French and the British from the Sun King to the Present''. London: William Heinemann, 2006.</ref>
 
== ที่มาของสงคราม ==
พันธมิตรหลักของปรัสเซียก็มีเพียงบริเตนใหญ่ ที่มีผู้ซึ่งครองที่เป็นเจ้าของบัลลังก์[[อาณาจักรเลือกตั้งแห่งฮาโนเวอร์รัฐผู้คัดเลือกเบราน์ชไวก์-ลือเนบูร์ก|ฮันโนเฟอร์]]อยู่ ผู้มีความพะวงถึงอันตรายของฮาโนเวอร์ฮันโนเฟอร์ที่มาจากฝรั่งเศส เมื่อดูตามสถานะการณ์แล้วคู่พันธมิตรดังกล่าวก็เป็นคู่ที่เหมาะสมกันอย่างที่สุด บริเตนใหญ่มีราชนาวีที่ใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลกในขณะนั้น ขณะที่ปรัสเซียมีกองทัพบกที่เป็นที่น่าเกรงขามที่สุดในยุโรป ซึ่งเป็นผลทำให้บริเตนใหญ่สามารถหันความสนใจไปในด้านการขยายตัวของอาณานิคมได้อย่างเต็มที่ บริเตนมีความหวังว่า[[Diplomatic Revolution|การปฏิรูปทางการปฏิวัติทูต]]จะมีผลให้สันติภาพมีโอกาสได้ดำเนินอยู่ต่อไป แต่อันที่จริงแล้วกลับเป็นสาเหตุของการปะทุของสงครามในปี ค.ศ. 1756
สงครามเจ็ดปีมักจะถือกันว่าเป็นสงครามที่ต่อเนื่องมาจาก[[สงครามสืบราชบัลลังก์ออสเตรีย]]ที่เกิดขึ้นระหว่าง ค.ศ. 1740 – ค.ศ. 1748 เมื่อ[[พระเจ้าฟรีดริชที่ 2 แห่งปรัสเซีย]]หรือพระเจ้าฟรีดริชมหาราชได้ดินแดน[[ไซลีเซีย]]มาจากออสเตรีย [[จักรพรรดินีมาเรีย เทเรซา|สมเด็จพระจักรพรรดินีนาถมาเรีย เทเรซาแห่งออสเตรีย]]ทรงจำต้องลงพระนามใน[[สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล (ค.ศ. 1748)|สนธิสัญญาเอซ์-ลา-ชาเปล]]เพื่อเป็นการยุติสงคราม และซื้อเวลาในการสร้างเสริมกองทัพออสเตรีย และเสาะหาพันธมิตรทางการทหารใหม่ซึ่งทรงได้รับความสำเร็จอย่างคาดไม่ถึง แผนที่การเมืองของยุโรปได้รับการร่างใหม่ภายในสองสามปีหลังจากที่ออสเตรียยุติ[[Anglo-Austrian Alliance|การเป็นพันธมิตรกับอังกฤษ]]หลังจากที่ดำเนินมากว่ายี่สิบห้าปี ระหว่างช่วงที่เรียกกันว่า[[Diplomatic Revolution|การปฏิรูปทางการทูต]]ของปี ค.ศ. 1756 คู่อริเก่าที่ประกอบด้วยฝรั่งเศส ออสเตรีย และ รัสเซียก็ตกลงเป็นพันธมิตรในการต่อต้านปรัสเซียร่วมกัน
[[ไฟล์:SevenYearsWar.png|thumb|left|340px|ผู้ร่วมในสงคราเจ็ดปีทุกฝ่าย<font color="Blue">น้ำเงิน</font>: บริเตนใหญ่, ปรัสเซีย, โปรตุเกส และพันธมิตร<font color="Green">เขียว</font>: ฝรั่งเศส, สเปน, ออสเตรีย, รัสเซีย, สวีเดน และพันธมิตร]]
 
พันธมิตรหลักของปรัสเซียก็มีเพียงบริเตนใหญ่ ที่มีผู้ครองที่เป็นเจ้าของ[[อาณาจักรเลือกตั้งแห่งฮาโนเวอร์]] ผู้มีความพะวงถึงอันตรายของฮาโนเวอร์ที่มาจากฝรั่งเศส เมื่อดูตามสถานะการณ์แล้วคู่พันธมิตรดังกล่าวก็เป็นคู่ที่เหมาะสมกันอย่างที่สุด บริเตนมีราชนาวีที่ใหญ่ที่สุดและมีประสิทธิภาพที่สุดในโลกในขณะนั้น ขณะที่ปรัสเซียมีกองทัพบกที่เป็นที่น่าเกรงขามที่สุดในยุโรป ซึ่งเป็นผลทำให้บริเตนใหญ่สามารถหันความสนใจไปในด้านการขยายตัวของอาณานิคมได้อย่างเต็มที่ บริเตนมีความหวังว่า[[Diplomatic Revolution|การปฏิรูปทางการทูต]]จะมีผลให้สันติภาพมีโอกาสได้ดำเนินอยู่ต่อไป แต่อันที่จริงแล้วกลับเป็นสาเหตุของการปะทุของสงครามในปี ค.ศ. 1756
 
กองทัพออสเตรียได้รับการปรับปรุงสร้างเสริมขึ้นใหม่ตามแบบของระบบปรัสเซีย จักรพรรดินีนาถมาเรีย เทรีซาผู้มีพระปรีชาสามารถทางด้านการทหารไม่น้อยกว่าผู้ใดทรงมีบทบาทสำคัญในการสร้างความกดดันที่เป็นผลให้เกิดการปฏิรูประบบการทหารขึ้น ออสเตรียได้รับความพ่ายแพ้อันน่าอับอายหลายครั้งต่อปรัสเซียในสงครามก่อนหน้านั้น และมีความไม่พึงพอใจต่อความช่วยเหลืออันจำกัดของฝ่ายบริติช ออสเตรียจึงได้ตั้งความหวังใหม่ว่าฝรั่งเศสจะมาเป็นพันธมิตรผู้สามารถช่วยกู้ไซลีเซียคืนจากปรัสเซียได้และยุติการขยายอำนาจของปรัสเซีย
เส้น 43 ⟶ 49:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
* [[สงคราม]]
* [[ไซลีเซีย]]