ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรวมประเทศเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:Brandenburger Tor abends.jpg|thumb|right|[[ประตูบรันเดนบูร์ก]] สัญลักษณ์ประจำกรุงเบอร์ลินและการรวมประเทศเยอรมนี]]
{{Eastern Bloc sidebar}}
'''การรวมประเทศเยอรมนี''' ({{lang-de|Deutsche Wiedervereinigung}}) เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1990 เมื่อ[[ประเทศเยอรมนีตะวันออก|สาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี]] ([[เยอรมนีตะวันออก]]) และ[[ประเทศเยอรมนีตะวันตก|สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี]] ([[เยอรมนีตะวันตก]]) รวมประเทศกันเป็น[[ประเทศเยอรมนี|เยอรมนีเดียว]]ที่ปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย และได้รวม[[เบอร์ลินตะวันออก]]และ[[เบอร์ลินตะวันตก]]เป็น[[เบอร์ลิน|นครหนึ่งเดียว]]ด้วยมีเช่นกัน กระบวนการนี้ถูกระบุไว้โดยรัฐธรรมนูญ ''[[กฎหมายมูลฐานสำหรับสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี|กรุนด์เกอเซทซ์]]'' ({{lang-de|Grundgesetz}}) มาตรา 23 และเมื่อกระบวนการนี้สิ้นสุดลงก็ถูกขนานนามว่า '''เอกภาพเยอรมนี''' ({{lang-de|link=no|Deutsche Einheit}}) ซึ่งจัดการเฉลิมฉลองทุกวันที่ 3 ตุลาคมของทุกปีในฐานะ ''วันเอกภาพเยอรมัน'' ({{lang-de|link=no|Tag der deutschen Einheit}}).<ref name="Einigungsvertrag">[http://bundesrecht.juris.de/einigvtr/BJNR208890990.html Vertrag zwischen der Bundesrepublik Deutschland und der Deutschen Demokratischen Republik über die Herstellung der Einheit Deutschlands (Einigungsvertrag)] Unification Treaty signed by the Federal Republic of Germany and the German Democratic Republic in Berlin on 31 August 1990 (official text, in German).</ref> จากการรวมประเทศในครั้งนี้ ส่งผลให้กรุงเบอร์ลินถูกยกฐานะขึ้นเป็นเมืองหลวงของเยอรมนีอีกครั้งหนึ่ง
 
จุดเริ่มต้นของการรวมประเทศเกิดขึ้นในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1989 เมื่อระบอบการปกครองของเยอรมนีตะวันออกเริ่มสั่นคลอนจากการที่[[การรื้อถอนรั้วชายแดนด้านที่ติดกับออสเตรียของฮังการี|สาธารณรัฐประชาชนฮังการีเปิดพรมแดนด้านที่ติตกับออสเตรีย]] ส่งผลให้เกิดช่องโหว่ในแนว[[ม่านเหล็ก]]และเกิดการอพยพขนานใหญ่ของชาวเยอรมันตะวันออกจำนวนหลายพันคน ซึ่งหลบหนีออกจากประเทศไปยังฝั่งตะวันตกและ[[ออสเตรีย]]โดยใช้ฮังการีเป็นทางผ่าน นอกจากนี้การปฏิวัติอย่างสงบ (Peaceful Revolution) ซึ่งเป็นระลอกการประท้วงของชาวเยอรมันตะวันออกยังส่งผลให้เกิดการจัด[[การเลือกตั้งทั่วไปในเยอรมนีตะวันออก พ.ศ. 2533|การเลือกตั้งเสรีขึ้นเป็นครั้งแรกในเยอรมนีตะวันออก]]เมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1990 และนำไปสู่การเจรจาระหว่างเยอรมนีทั้งสองประเทศถึงประเด็นสนธิสัญญารวมประเทศอีกด้วย<ref name="Einigungsvertrag" /> ต่อมามีการเจรจาเพิ่มเติมซึ่งชาติมหาอำนาจอีกสี่ชาติที่เคยยึดครองเยอรมนีในอดีตได้มีส่วนร่วมด้วย จึงก่อให้เกิดการลงนามในข้อตกลงของ ''สนธิสัญญาสองบวกสี่'' ([[สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี]]) ณ [[กรุงมอสโก]] [[สหภาพโซเวียต]] เมื่อวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1990 โดยให้[[อำนาจอธิปไตย]]อย่างสมบูรณ์แก่ประเทศเยอรมนีที่รวมกันใหม่ อีกทั้งเป็นการปลดปล่อยเยอรมนีทั้งสองประเทศจากภาระเกี่ยวพันจากข้อจำกัดหลายประการที่เกิดขึ้นในสมัยที่ยังเป็น[[เยอรมนีภายใต้การยึดครองของสัมพันธมิตร|เขตปกครอง]]ของชาติมหาอำนาจด้วยเช่นกัน
จุดเริ่มต้นของการรวมชาติเริ่มขึ้นเมือเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1989 เมื่อสาธารณรัฐประชาชนฮังการีเปิดพรมแดนด้านที่ติตกับออสเตรีย ชาวเยอรมนีตะวันออกจึงหลบหนีผ่านสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวักผ่านฮังการีและเข้าออสเตรีย ในขณะเดียวกันเหตุการณ์ Peaceful Revolution, การเดินขบวนวันจันทร์ในเยอรมนีตะวันออกและการทำลาย[[กำแพงเบอร์ลิน]] ทำให้รัฐบาลของ[[พรรคเอกภาพสังคมนิยมเยอรมนี]]ที่นำด้วย
[[เอริช เฮเนเกอร์]]และ[[อีกอน เกนส์]]ลาออกจากตำแหน่ง ทำให้เยอรมนีตะวันออกจึงจัดการเลือกตั้งสายเสรีในรอบ 40 ปี ในวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1990 ด้วยกลุ่มที่สนับสนุนให้รวมชาติได้รับชัยชนะทั้งสองประเทศจึงลงนามในสนธิสัญญารวมชาติและเพื่อบรรลุความเป็นหนึ่งเดียวและเอกราชสมบูรณ์ พวกเขามีความปรารถนาที่จะยอมรับเงื่อนไขของ[[ข้อตกลงพอทสดัม]]ซึ่งมีผลกระทบต่อประเทศ ทั้งสองประเทศและสี่มหาอำนาจจึงลงนามใน ''สนธิสัญญาสองบวกสี่'' ([[สนธิสัญญาว่าด้วยการตกลงขั้นสุดท้ายเกี่ยวกับดินแดนเยอรมนี]]) ที่[[กรุงมอสโก]] [[สหภาพโซเวียต]]ในวันที่ 12 กันยายน ค.ศ. 1990 ผลที่ตามมาคือ[[ประเทศเยอรมนีที่สัมพันธมิตรยึดครอง|มหาอำนาจทั้งสี่ที่ยึดครองเยอรมนี]]หลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ต้องละทิ้งสิทธิทั้งหมดที่เคยถือครองในเยอรมนีทั้งหมด รวมไปถึงในกรุงเบอร์ลิน ประเทศเยอรมนีที่มีการรวมตัวนั้นจึงมีอำนาจอธิปไตยสมบูรณ์ ซึ่งมีผลนำไปสู่การรวมประเทศเยอรมนีอย่างเป็นทางการในวันที่ 3 ตุลาคม ปีเดียวกัน
 
ทั้งนี้สถานภาพของเยอรมนีที่รวมประเทศขึ้นมาใหม่ถือว่าเป็นรัฐสภาพของสหพันธ์สาธารณรัฐเดิม (เยอรมนีตะวันตก) ที่ดำรงอยู่มาอย่างต่อเนื่อง เสมือนว่าเยอรมนีตะวันออกถูกผนวกรวมเป็นส่วนหนึ่งของเยอรมนีตะวันตกมากกว่าการรวมเป็นประเทศใหม่อย่างเท่าเทียมกัน ส่งผลให้หลังจากการรวมประเทศในครั้งนี้เยอรมนีจึงไม่ใช่รัฐสืบทอด (successor state) ของรัฐใดรัฐหนึ่งแต่อย่างใด สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีจึงสามารถดำรงสมาชิกภาพของตนในองค์การระหว่างประเทศอยู่ได้เช่นเดิม เช่น [[ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป]] ([[สหภาพยุโรป]]ในภายหลัง) หรือ[[องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ]] (นาโต) ในขณะที่สมาชิกภาพเดิมในองค์การระหว่างประเทศ เช่น [[สนธิสัญญาวอร์ซอ|องค์การสนธิสัญญาวอร์ซอ]] หรือองค์การอื่น ๆ ที่เยอรมนีตะวันออกเป็นสมาชิกอยู่กลับถูกสละทิ้งไปทั้งหมด
เยอรมนีตะวันออกต้องลาออกจากการเป็นภาคีสมาชิกของ[[สนธิสัญญาวอร์ซอ]]และ[[สภาเพื่อความช่วยเหลือซึ่งกันและกันทางเศรษฐกิจ]]และจากการที่เยอรมนีตะวันตกเป็นสมาชิกของ[[องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ]]และ[[ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป]]จึงทำให้เยอรมนีตะวันออกเป็นสมาชิกของทั้งสององค์กรโดยอัตโนมัติ
 
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์เยอรมนี]]