ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามปฏิวัติอเมริกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox military conflict
|conflict= สงครามปฏิวัติอเมริกัน อเมริกา
|image=
|caption=
|date= 19 เมษายน ค.ศ. 1775 – 3 กันยายน ค.ศ. 1783 ({{Age in years and days|1775|4|19|1783|9|3}})
|place= [[ทวีปอเมริกาเหนือ]]ตะวันออก, [[ยิบรอลตาร์]], [[หมู่เกาะแบลีแอริก]], [[อเมริกากลาง]];<br>อาณานิคมในครอบครองฝรั่งเศส ดัตช์และอังกฤษใน[[อนุทวีปอินเดีย]]และที่อื่น;<br>
น่านน้ำชายฝั่ง[[ยุโรป]], [[ทะเลแคริบเบียน]], [[มหาสมุทรแอตแลนติก]]และ[[มหาสมุทรอินเดีย|อินเดีย]]
|result=[[สนธิสัญญาปารีส (ค.ศ. 1783)]]
บรรทัด 46:
เยอรมันเสียชีวิต 7,554 นาย
}}
{{ใช้ปีคศ}}
 
'''สงครามปฏิวัติอเมริกันอเมริกา''' ({{lang-en|American Revolutionary War}}; ค.ศ. 1775–1783) หรือเรียก '''สงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา''' ({{lang-en|American War of Independence}}; [[ค.ศ. 1775]]-[[ค.ศ. 1783|1783]]) เปิดฉากเป็นหรือ'''สงครามปฏิวัติ'''ในสหรัฐ เป็นการขัดกันด้วยอาวุธระหว่าง[[สหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์]]ฝ่ายหนึ่ง กับและ[[สิบสามอาณานิคม]]อังกฤษใน[[ทวีปอเมริกาเหนือ]]อีกฝ่ายหนึ่ง ก่อนจบลงด้วยซึ่งหลังสงครามทั่วโลก ระหว่างชาติเปิดฉากประกาศอิสรภาพเป็น[[มหาอำนาจสหรัฐอเมริกา]]ทั้งหลายใน[[ทวีปยุโรป]]
 
สงครามนี้มีจุดกำเนิดจากการต่อต้านภาษีบางชนิดและพระราชบัญญัติซึ่งชาวอเมริกันจำนวนมากอ้างว่าไม่ชอบธรรมและมิชอบด้วยกฎหมาย การประท้วงของแพทริอัต (Patriot) ลุกลามเป็นการคว่ำบาตร และในวันที่ 16 ธันวาคม 1773 พวกเขา[[กรณีการเลี้ยงน้ำชาที่บอสตัน|ทำลายการส่งสินค้าชา]]ในท่าบอสตัน รัฐบาลบริเตนตอบโต้โดยปิดท่าบอสตัน แล้วผ่านมาตรการโดยมุ่งลงโทษอาณานิคมที่เป็นกบฏ แพทริอัตสนองโดย[[Suffolk Resolves|ซัฟฟอล์กรีซอฟส์]] (Suffolk Resolves) คือ การสถาปนารัฐบาลเงาซึ่งกำจัดการควบคุมมณฑลจากคราวน์นอกบอสตัน สิบสองอาณานิคมตั้ง[[สภาภาคพื้นทวีป]]เพื่อประสานงานการต่อต้าน และสถาปนาคณะกรรมการและการประชุมใหญ่ซึ่งยึดอำนาจชะงัด
สงครามดังกล่าวเป็นผลมาจาก[[การปฏิวัติอเมริกา]]ในทางการเมือง ซึ่งถูกกระตุ้นด้วยข้อพิพาทระหว่างรัฐสภาแห่งบริเตนใหญ่กับชาวอาณานิคมซึ่งคัดค้านพระราชบัญญัติแสตมป์ ค.ศ. 1765 ซึ่งชาวอเมริกันเห็นว่าขัดต่อรัฐธรรมนูญ รัฐสภายืนยันสิทธิ์ของตนในการเก็บภาษีชาวอาณานิคม แต่ชาวอเมริกันอ้างสิทธิ์ของตนว่าเป็นชาวอังกฤษในการ[[ไม่จ่ายภาษีหากไม่มีผู้แทน]] ชาวอเมริกันจัดตั้งสภาภาคพื้นทวีปที่เป็นอันหนึ่งเดียวกัน และรัฐบาลเงาในแต่ละอาณานิคม การคว่ำบาตรชาอังกฤษของอเมริกานำไปสู่[[กรณีชาที่บอสตัน]] ใน ค.ศ. 1773 รัฐบาลอังกฤษตอบสนองโดยยุติการปกครองตนเองในแมตซาชูเซ็ตส์ และกำหนดให้อยู่ภายใต้การควบคุมของกองทัพโดยมีพลเอกโทมัส เกจเป็นผู้ว่าราชการ เดือนเมษายน ค.ศ. 1775 เกจส่งกองทัพไปยึดอาวุธของกบฏ ทหารอาสาสมัครท้องถิ่น ซึ่งรู้จักกันในชื่อ "minutemen" เผชิญหน้ากับทหารอังกฤษและทำลายกองทัพอังกฤษได้เกือบทั้งหมด ยุทธการเลซิงตันและคอนคอร์ดเป็นชนวนสงคราม โอกาสในการประนีประนอมหมดลงเมื่ออาณานิคมต่าง ๆ ประกาศอิสรภาพและจัดตั้งประเทศใหม่ขึ้น ชื่อว่า [[สหรัฐอเมริกา]] เมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776
 
ความพยายามยึดยุทโธปกรณ์อเมริกันของบริเตนในเดือนเมษายน 1775 นำสู่การยุทธ์อย่างเปิดเผยระหว่างกำลังคราวน์และทหารอาสาสมัครแพทริอัต ทหารอาสาสมัครเดินหน้าล้อมกำลังบริติชในบอสตัน บังคับให้ต้องอพยพนครในเดือนมีนาคม 1776 สภาภาคพื้นทวีปตั้ง[[จอร์จ วอชิงตัน]]ให้บังคับบัญชาทหารอาสาสมัคร ต่อมา เขาได้รับแต่งตั้งเป็นผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพภาคพื้นทวีปที่เพิ่งตั้ง ตลอดจนประสานงานหน่วยทหารอาสาสมัครของรัฐ ในเวลาเดียวกับ[[การทัพบอสตัน]] ความพยายามบุกครองควิเบกของอเมริกาและปลุกการกบฏต่อพระมหากษัตริย์บริติชล้มเหลวโดยสิ้นเชิง วันที่ 2 กรกฎาคม 1774 สภา[[คำประกาศอิสรภาพสหรัฐอเมริกา|ลงมติสนับสนุนเอกราช]]อย่างเป็นทางการ โดยออกคำประกาศในวันที่ 4 กรกฎาคม
 
[[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]], [[ราชอาณาจักรสเปน|สเปน]] และ[[สาธารณรัฐดัตช์]]ล้วนจัดหาเสบียง เครื่องกระสุนและอาวุธอย่างลับ ๆ ให้แก่กองทัพปฏิวัติเริ่มตั้งแต่ต้น ค.ศ. 1776 หลังอังกฤษประสบความสำเร็จในตอนต้น สงครามเริ่มเปลี่ยนเป็นไม่แน่นอน ฝ่ายอังกฤษใช้ความเหนือกว่าทางทะเลยึดและครอบครองนครชายฝั่งของอเมริกา ขณะที่ฝ่ายกบฏยังควบคุมแถบชนบทเป็นส่วนใหญ่ อันเป็นที่ซึ่งประชากรกว่า 90% อาศัยอยู่ ยุทธศาสตร์ของอังกฤษอาศัยการระดมทหารอาสาสมัครที่จงรักภักดี แต่อังกฤษไม่ได้ให้ความสำคัญอย่างเต็มที่ การรุกรานของอังกฤษจากแคนาดาสิ้นสุดลงด้วยการจับกองทัพอังกฤษเป็นเชลยที่ยุทธการซาราโตกาใน ค.ศ. 1777 ชัยชนะของอเมริกาครั้งนั้นโน้มน้าวให้ฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามอย่างเปิดเผยในต้น ค.ศ. 1778 ซึ่งทำให้กำลังทางทหารของทั้งสองฝ่ายสมดุล สเปนและสาธารณรัฐดัตช์ พันธมิตรของฝรั่งเศส เข้าสู่สงครามกับอังกฤษภายในอีกสองปีถัดมา ซึ่งคุกคามจะรุกรานบริเตนใหญ่และทดสอบความเข้มแข็งทางทหารของอังกฤษอย่างรุนแรงด้วยการทัพในยุโรป การมีส่วนร่วมของสเปนส่งผลให้กองทัพอังกฤษในเวสต์ฟลอริดาถอนตัวออก ซึ่งเป็นการทำให้ปีกด้านใต้ของอเมริกาปลอดภัย
 
การมีส่วนร่วมของฝรั่งเศสพิสูจน์แล้วว่ามีผลชี้ขาด<ref>Greene and Pole, ''A companion to the American Revolution'' p 357</ref> แต่ก็ทำลายเศรษฐกิจของฝรั่งเศสเช่นกัน<ref>Jonathan R. Dull, ''A Diplomatic History of the American Revolution'' (1987) p. 161</ref> ชัยชนะทางทะเลของฝรั่งเศสในเชซาพีคบีบให้กองทัพอังกฤษที่สองยอมจำนนที่การล้อมยอร์กทาวน์ใน ค.ศ. 1781 ใน ค.ศ. 1783 สนธิสัญญาปารีสยุติสงครามและยอมรับอธิปไตยของสหรัฐอเมริกาเหนือดินแดนที่มีอาณาเขตติดต่อกับ[[แคนาดา]]ทางเหนือ [[ฟลอริดา]]ทางใต้ และ[[แม่น้ำมิสซิสซิปปี]]ทางตะวันตก<ref>Dull, ''A Diplomatic History of the American Revolution'' ch 18</ref><ref>Lawrence S. Kaplan, "The Treaty of Paris, 1783: A Historiographical Challenge," ''International History Review,'' Sept 1983, Vol. 5 Issue 3, pp 431-442</ref>
 
== อ้างอิง ==