ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐฉาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Shanstate1999 (คุย | ส่วนร่วม)
เพื่มความถูกต้อง
รวนไปหมด
บรรทัด 1:
{{Infobox settlement
<!-- See Template:Infobox settlement for additional fields and descriptions -->
| name = รัฐฉานชาน
| native_name = {{nobold|{{my|မိူင္းꨅိုင္ꨳတꨯးရှမ်းပြည်နယ်}}}}
| native_name_lang = my<!-- ISO 639-2 code e.g. "fr" for French. -->
| translit_lang1 = [[ระบบการถอดเสียงเอ็มแอลซี|เมียนมา]]
| translit_lang1 = [[ꨅြမ္ပိဝ္ꨅုိင္ꨳတꨯး|Shan flag]]
| translit_lang1_type = [[ภาษาไตพม่า|ไตพม่า]]
| translit_lang1_info = {{lang|my-Latn|hram: prany nai}}
| settlement_type = [[เขตการปกครองของไตพม่า|รัฐ]]
| image_skyline =
| image_alt =
บรรทัด 15:
| nickname =
| motto =
| image_map = Shan State in Republic of the Union of Myanmar.svg
| mapsize = 200px
| map_alt =
| map_caption = ที่ตั้งของรัฐฉานชานในประเทศพม่า
| pushpin_map = <!-- ShanBurma -->
| pushpin_label_position =
| pushpin_map_alt =
บรรทัด 31:
| coordinates_region = MM
| subdivision_type = [[รายชื่อประเทศ ดินแดน และเมืองหลวง|ประเทศ]]
| subdivision_name = {{Flag of the Shan State.svgflag|รัฐฉานพม่า}}
| subdivision_type1 = ภูมิภาค
| subdivision_name1 = ตอนกลาง-ตะวันออก
บรรทัด 37:
| established_date =
| seat_type = เมืองหลวง
| seat = [[ต้นตีหรือตองจี]]
| government_footnotes =
| leader_party = [[พรรคสหสามัคคีและการพัฒนา|ยูเอสดีพี]]
บรรทัด 43:
| leader_name = ออง มยะ<ref>{{cite web|url=http://www.altsean.org/Research/Regime%20Watch/Executive/DivisionsStatesAdmins.php|title=Division and State Administrations|date=8 July 2011|work=Alternative Asean Network on Burma|accessdate=21 August 2011}}</ref>
| unit_pref = Metric<!-- or US or UK -->
| area_footnotes = <ref name=cp>{{cite web | url=http://www.citypopulation.de/Myanmar.html | title=Republic of the Union of Myanmar | accessdate=2008-12-25 | publisher=City Population}}</ref>
| area_total_km2 = 155801
| area_note =
บรรทัด 49:
| elevation_m =
| population_footnotes = <ref name=cp/>
| population_total = 75,815,384
| population_as_of = พ.ศ. 25592557
| population_density_km2 = auto
| population_demonym =
บรรทัด 57:
| demographics1_footnotes = <!-- for references: use <ref> tags -->
| demographics1_title1 = กลุ่มชาติพันธุ์
| demographics1_info1 = [[ไตไทใหญ่]], [[ชาวพม่า|พม่า]], [[พม่าเชื้อสายจีน|จีน]], [[ชาวว้า|ว้า]], [[ชาวลีซอ|ลีซอ]], [[ชาวดะนุ|ดะนุ]], [[ชาวอินทา|อินทา]], [[ชาวมูเซอ|มูเซอ]], [[ชาวปะหล่อง|ปะหล่อง]], [[ปะโอ]], [[ตองโย]], [[พม่าเชื้อสายอินเดีย|อินเดีย]], [[พม่าเชื้อสายกูรข่า|กูรข่า]]
| demographics1_title2 = ศาสนา
| demographics1_info2 = [[ศาสนาพุทธ|พุทธ]], [[ศาสนาคริสต์|คริสต์]], [[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]], [[ศาสนาฮินดู|ฮินดู]]
บรรทัด 71:
}}
 
'''รัฐฉานชาน'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=118|issue=ตอนพิเศษ 117ง|pages=2|title=ประกาศราชบัณฑิตยสถาน เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง (พ.ศ. 2544)|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/E/117/2.PDF|date=26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544|language=ไทย}}</ref> หรือ '''รัฐฉาน'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=85|issue=8ง|pages=152|title=ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งรองกงสุล ณ เมืองเชียงตุง|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2511/D/008/152.PDF|date=23 มกราคม พ.ศ. 2511|language=ไทย}}</ref> ({{lang-my|ရှမ်းပြည်နယ်}}, {{IPA-my|ʃáɴ pjìnɛ̀|pron}} ''ช้าน ปหฺยี่แหน่''; [[ภาษาไทใหญ่|ไตไทใหญ่]]: {{my|မိူင်းတႆး}} ''เมิ้งไต๊'') บ้างเรียก '''รัฐไทใหญ่หรือเมืองไต''' เป็นรัฐหนึ่งใน[[สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ประเทศพม่า]]
 
== สภาพภูมิศาสตร์ ==
ลักษณะภูมิประเทศของรัฐฉานชานเต็มไปด้วยภูเขาสูงและผืนป่า พื้นที่เต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สินค้าส่งออกที่สำคัญของรัฐฉานชานจึงเป็นจำพวกแร่ธาตุและไม้ชนิดต่าง ๆ
 
รัฐฉานชานมีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่ข้างเคียงเรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[รัฐกะฉิ่น]] ([[สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ประเทศพม่า]]) [[เขตปกครองตนเองชนชาติไตไทและจิงผ่อ เต๋อหง|เขตเต๋อหง]] [[เป่าซาน|เขตเป่าซาน]] และ[[หลินซาง|เขตหลินซาง]] ([[มณฑลยูนนาน]] [[ประเทศจีน]])
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[ปู้เอ่อ|เขตซือเหมา]] [[เขตปกครองตนเองชนชาติไตไท สิบสองปันนา|เขตสิบสองปันนา]] (มณฑลยูนนาน ประเทศจีน) [[แขวงหลวงน้ำทา]] และ[[แขวงบ่อแก้ว]] ([[ประเทศลาว]])
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[จังหวัดเชียงราย]] [[จังหวัดเชียงใหม่]] [[จังหวัดแม่ฮ่องสอน]] ([[ประเทศไทย]]) [[รัฐกะยา]] และ[[รัฐกะเหรี่ยง]] (สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ประเทศพม่า)
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[เขตมัณฑะเลย์]]และ[[เขตสะกาย]] (ของรัฐประเทศพม่า)
 
== ประวัติ ==
ไตไทใหญ่เกิดขึ้น 96 ปี ก่อนคริสต์ศักราช [[พ.ศ. 448]]
ลักษณะภูมิประเทศของรัฐฉานชานเต็มไปด้วยภูเขาสูงและผืนป่า รัฐฉานชานจึงเต็มไปด้วยทรัพยากรธรรมชาติที่มีค่า สินค้าส่งออกที่สำคัญของรัฐฉานชานจึงเป็นจำพวกแร่ธาตุและไม้ชนิดต่างๆ
ปัจจุบันรัฐฉานชานเป็นส่วนหนึ่งในของประเทศพม่า สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ มีชายแดนติดกับประเทศไทยด้านตะวันออกเฉียงใต้ของรัฐ
 
รัฐฉานชาน ในอดีตกาลมีชื่อเรียกว่า "ไต" หรือที่เรียกกันว่า "เมิงไต" ในสำเนียงไต หรือ "เมืองไต" ในสำเนียงไทย มีประชากรหลายชนชาติและอาศัยอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข โดยมีชนชาติไทใหญ่อาศัยอยู่มากที่สุด เมืองไตเคยมีเอกราชในการปกครองตนเองมาเป็นเวลาหลายพันปี ก่อนที่อังกฤษจะขยายอิทธิพลเข้ามาถึง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเมืองไตกับเมืองพม่า ในอดีตนั้นจัดเป็นอิสระต่อกัน หรือกล่าวได้ว่าเป็นคนละอาณาจักรกัน เหมือนดั่ง[[อาณาจักรอยุธยา]]กับ[[อาณาจักรเขมร]]
อาณาเขตของเมืองไตประกอบด้วยเมืองรวมทั้งหมด 33 เมืองแต่ละเมือง ปกครองด้วยระบบเจ้าฟ้าสืบต่อเนื่องกันมาตั้งแต่อดีต และถึงแม้จะมีเจ้าฟ้าปกครองหลายเมือง แต่ทุกเมืองก็รวมกันเป็นแผ่นดินชนชาติไต เนื่องมาจากที่ตั้งของเมืองไตอยู่ใกล้กับเมืองประเทศพม่า
เมืองไตกับเมืองประเทศพม่ามีการติดต่อค้าขายช่วยเหลือ และให้ความเคารพซึ่งกันและกันมาโดยตลอด เห็นได้จากในช่วงที่เจ้าฟ้าเมืองไตปกครองเมืองประเทศพม่าประมาณเกือบ 300 ปีไม่เคยมีการสู้รบกันเกิดขึ้น และยังมีการติดต่อค้าขายยังดำเนินไปอย่างสันติสุขเช่นกัน จนกระทั่งมาถึงสมัยบุเรงนอง ได้มีการสู้รบกันกับกษัตริย์เจ้าฟ้าเมืองไตกับกษัตริย์เมืองพม่าเกิดขึ้น โดยฝ่ายเจ้าฟ้าเมืองไตเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ จึงทำให้ราชวงศ์เจ้าฟ้าบางเมือง ต้องจบสิ้นไปดังเช่นราชวงศ์เจ้าฟ้า[[เมืองนาย]]ซึ่งเป็นราชวงศ์ของกษัตริย์มังราย นอกจากนี้ยังมีอีกหลายราชวงศ์ที่ต้องสูญสิ้น ไปเพราะการสู้รบ
* [[พ.ศ. 2305]] ในสมัย[[พระเจ้าอลองพญา]] รัฐฉานชานตกเป็นเมืองเพิ่งกำลังศึกเมืองขึ้นของพม่า ได้จาก[[กรุงศรีอยุธยา]] เจ้าฟัากษัตริย์พม่าได้ทำการปราบปรามราชวงศ์ เจ้าฟ้าไตไทใหญ่จนหมดสิ้นไปเป็นจำนวนมาก
* [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2428]] อังกฤษได้ทำการจับกุมและยึดอำนาจกษัตริย์พม่า และขยายอาณาเขตไปยัง[[เมืองเชียงตุง]]ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองไต
* [[พ.ศ. 2433]] ได้ประกาศว่า "อังกฤษได้ยึดเอาเมืองไตเรียบร้อยแล้ว"
เนื่องจากเมืองประเทศพม่าซึ่งตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มและเมืองไต ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเทือกเขาไม่ใช่ประเทศเดียวกัน อังกฤษจึงไม่ได้เข้ายึดพร้อมกัน และถึงแม้อังกฤษจะยึดทั้งสองเมืองเป็นเมืองขึ้นของตนแต่ก็ไม่ได้ปกครองทั้งสองเมืองในลักษณะเดียวกัน หากแบ่งการปกครองออกเป็นสองลักษณะ คือเมืองประเทศพม่าเป็นเมืองใต้อาณานิคม ส่วนเมืองไตเป็นเมืองใต้การอารักขา
และอังกฤษยังได้จับกุมกษัตริย์พม่าและกำจัดราชวงศ์ทั้งหมดของกษัตริย์พม่า ส่วนเมืองไตอังกฤษไม่ได้ทำลายราชวงศ์กษัตริย์เจ้าฟ้า อีกทั้งยังสนับสนุนให้เจ้าฟ้าแต่ละเมือง มีอำนาจปกครองบ้านเมืองของตนเอง และได้สถาปนาให้เมืองทั้งหมดเป็น[[สหพันธไตหรือรัฐฉานสหพันธรัฐชาน]]ขึ้นกับอังกฤษ มิได้เป็นส่วนหนึ่งของพม่าแต่อย่างใด
* [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2485]] ญี่ปุ่นขอไทยสมัย[[จอมพล ป.พิบูลสงคราม]] ยกกำลังทหารยึดรัฐชาน [[เชียงตุง]] รัฐฉาน ในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ประเทศพม่า จากทหารจีน[[ก๊กมินตั๋ง]] ของจอมพล[[เจียงไคเช็ค]] ญี่ปุ่นได้ส่งมอบให้ไทย ผนวกเป็น[[สหรัฐไทยเดิม]] เป็น[[จังหวัด/ไทยใหญ่|จังหวัดไตไทใหญ่]]
* [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2489]] รัฐฉานชานกลับมาสู่อิสรภาพ ครั้งนี้อังกฤษได้ผนวกเมืองไตกับเมืองพม่าเป็นส่วนเดี่ยวกันหนึ่งของพม่า
* [[พ.ศ. 2490]] ช่วงหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] ทางการพม่าพยายามโน้มน้าวเหล่าบรรดาเจ้าฟ้าไต ให้เข้าร่วมเรียกร้องเอกราชจากอังกฤษ เจ้าฟ้าไตจึงได้ร่วมลงนามใน[[สนธิสัญญาปางโหลง]] กับชาวพม่าและกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ เพื่อขอเอกราชจากอังกฤษ โดยสัญญาดังกล่าวได้นำไปสู่การร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งระบุให้ชนชาติที่ร่วมลงนามในสัญญา สามารถแยกตัวเป็นอิสระได้หลังจากอยู่ร่วมกันครบสิบปี
* [[พ.ศ. 2491]] อังกฤษได้ให้เอกราชกับพม่าและไต รัฐบาลกลางพม่าไม่ยอมทำตามสัญญา และพยายามการรวมดินแดนให้เป็นของประเทศพม่า เหตุนี้จึงทำให้ชาวไตหรือไทใหญ่ จึงก่อตั้งกองกำลังกู้ชาติของตนเองขึ้น
ทางรัฐบาลทหารพม่าได้ใช้ระบอบ[[เผด็จการทหาร]]กับชาวไต อีกทั้งยังได้ทำลายพระราชวังของไตไทใหญ่ในเมืองเชียงตุงและอีกหลายเมือง และเข้ามาจัดการศึกษาเกี่ยวกับพม่าให้แก่เด็กในพื้นที่ รัฐบาลทหารพม่าได้บังคับให้ประชาชนกว่า 3 แสนคนย้ายที่อยู่ ประชาชนมักถูกเกณฑ์ไปบังคับใช้แรงงาน ทั้งโครงการก่อสร้างและเป็นลูกหาบอาวุธให้ทหาร ทำให้มีผู้ลี้ภัยจำนวนมากหนีเข้ามายังประเทศไทย
ปัจจุบันสถานการณ์ภายในรัฐฉานชานก็ยังไม่มีเสถียรภาพทางความมั่นคงเท่าใดนัก และก็ยังมีกองกำลังกู้ชาติของตนเองอยู่
* [[พ.ศ. 2552]] ได้มีการจัดตั้งสภารัฐฉานชาน
 
== การปกครอง ==
บรรทัด 126:
 
== ประชากร ==
*ประชากร 75,815,384 คน
*ความหนาแน่น 37 คน/ตารางไมล์
*;เชื้อชาติ: ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มของ[[ไตไทใหญ่]]นอกจากนั้นก็จะมีชาวพม่า [[ชาวจีน]] ชาวกะฉิ่น ชาวดะนุ ชาวอินทา ชาว[[ปะหล่อง]] ชาวปะโอ ชาว[[พม่าเชื้อสายอินเดีย]] [[ชาวกะเหรี่ยง]] [[ชาวไทลื้อ]] ชาว[[คำตี่]] ชาวไตไทดอย เป็นต้น
*;ศาสนา: ประชากรส่วนใหญ่จะนับถือ[[ศาสนาพุทธ]] รองลงมาจะเป็น[[ศาสนาคริสต์]]ซึ่งมีอิทธิพลมากในหมู่ชาวเขา [[ศาสนาอิสลาม]]ในหมู่ชาวอินเดีย และฮ่อ [[ศาสนาฮินดู]]ในหมู่ชาวอินเดีย และศาสนาพื้นเมืองเดิมดั้งเดิมในหมู่ชาวเขา
 
บรรทัด 138:
* http://www.salweennews.org
 
{{มีอักษรไตพม่า}}
{{เขตการปกครองไตพม่า/รัฐฉาน}}
{{เขตการปกครองไตพม่า}}
[[หมวดหมู่:รัฐฉาน| ]]
[[หมวดหมู่:รัฐในสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ประเทศพม่า]]
{{โครงประเทศ}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/รัฐฉาน"